กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและส่งเสริมพัฒนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี ปี2562

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก

ตำบลสะเตงนอก

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

งานสร้างเสริมภูมคุ้มกันโรค เป็นงานที่มีความสำคัญในการที่จะช่วยป้องกันการเกิดโรคและส่งเสริมสุขภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน ทำให้มีภูมิคุ้มกันต่อโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ช่วยลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางทรัพยากรบุคคลและภาระค่าใช้จ่ายต่างๆในการดูแลรักษาผู้ป่วย ควบคุมการกระจายของโรค โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนอาจเกิดการระบาดได้ถ้าไม่สามารถให้วัคซีนได้ครอบคลุมเพียงพอ หรือให้ไม่ครบตามจำนวนครั้งที่กำหนด ภูมิคุ้มกันที่สร้างจากวัคซีนมีระดับลดลง เมื่อเวลาผ่านไปต้องได้รับการกระตุ้นซ้ำ และประสิทธิภาพของวัคซีนลดลงได้จากปัจจัยต่างๆเช่น การเก็บรักษาวัคซีนไม่ได้มาตรฐาน เทคนิคการให้บริการหรือการฉีดวัคซีน เช่น ฉีดลึกหรื้อตื้นเกินไป เป็นต้น
จากการสำรวจเด็กในพื้นที่ ในส่วนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก พบเด็กอายุ 0 - 5 ปี ในปีงบ 2562 จำนวน 1,023 คน เด็กที่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ จำนวน 913 คน คิดเป็นร้อยละ 89.24 ได้รับวัคซีนช้ากว่าเกณฑ์อายุ 85 คน คิดเป็นร้อยละ 8.30 เด็กที่ไม่ยินยอมมารับวัคซีนหรือบ่ายเบี่ยงการรับวัคซีน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 2.44ซึ่งพบว่ายังเป็นปัญหาในการดูแลสุขภาพของเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา เล็งเห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค จึงจัดทำ โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในเด็ก 0- 5 ปี เพื่อให้การพัฒนางานสาธารณสุขของตำบลสะเตงนอก มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาและแนวโน้มสุขภาพอนามัยอันจะก่อให้เกิดการพัฒนาในด้านอื่นฯอย่างต่อเนื่องต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อเพิ่มความคลอบคลุมการได้รับวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์

 

0.00
2 2. เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนัก และเห็นความสำคัญในการฉีดวัคซีนตามเกณฑ์และการได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์

 

0.00
3 3. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการที่สมวัยให้แก่เด็ก 0-5 ปี

 

0.00
4 4. เพื่อลดอัตราการป่วย-ตายในโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

 

0.00

หลักการและเหตุผล
งานสร้างเสริมภูมคุ้มกันโรค เป็นงานที่มีความสำคัญในการที่จะช่วยป้องกันการเกิดโรคและส่งเสริมสุขภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน ทำให้มีภูมิคุ้มกันต่อโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ช่วยลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางทรัพยากรบุคคลและภาระค่าใช้จ่ายต่างๆในการดูแลรักษาผู้ป่วย ควบคุมการกระจายของโรค โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนอาจเกิดการระบาดได้ถ้าไม่สามารถให้วัคซีนได้ครอบคลุมเพียงพอ หรือให้ไม่ครบตามจำนวนครั้งที่กำหนด ภูมิคุ้มกันที่สร้างจากวัคซีนมีระดับลดลง เมื่อเวลาผ่านไปต้องได้รับการกระตุ้นซ้ำ และประสิทธิภาพของวัคซีนลดลงได้จากปัจจัยต่างๆเช่น การเก็บรักษาวัคซีนไม่ได้มาตรฐาน เทคนิคการให้บริการหรือการฉีดวัคซีน เช่น ฉีดลึกหรื้อตื้นเกินไป เป็นต้น
จากการสำรวจเด็กในพื้นที่ ในส่วนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก พบเด็กอายุ 0 - 5 ปี ในปีงบ 2562 จำนวน 1,023 คน เด็กที่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ จำนวน 913 คน คิดเป็นร้อยละ 89.24 ได้รับวัคซีนช้ากว่าเกณฑ์อายุ 85 คน คิดเป็นร้อยละ 8.30 เด็กที่ไม่ยินยอมมารับวัคซีนหรือบ่ายเบี่ยงการรับวัคซีน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 2.44ซึ่งพบว่ายังเป็นปัญหาในการดูแลสุขภาพของเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา เล็งเห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค จึงจัดทำ โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนในเด็ก 0- 5 ปี เพื่อให้การพัฒนางานสาธารณสุขของตำบลสะเตงนอก มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาและแนวโน้มสุขภาพอนามัยอันจะก่อให้เกิดการพัฒนาในด้านอื่นฯอย่างต่อเนื่องต่อไป

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 85
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 04/02/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องความสำคัญของการได้รับวัคซีนแก่ผู้ปกครอง

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เรื่องความสำคัญของการได้รับวัคซีนแก่ผู้ปกครอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน 85 คน
         ( 85 คน x 35 บ. x 2 มื้อ )              เป็นเงิน  5,950        บาท
  2. ค่าอาหารกลางวัน      จำนวน 85 คน      ( 85 คน x 75 บ. x 1 มื้อ )              เป็นเงิน  6,375        บาท 3.ค่าตอบแทนวิทยากร
    ( 300 บาท x 5 ชม. x 3 ชั่วโมง )            เป็นเงิน  1,500        บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองตระหนักและเห็นความสำคัญในการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13825.00

กิจกรรมที่ 2 สร้างแรงจูงใจ จูงใจแก่เด็กที่มาฉีดวัคซีน

ชื่อกิจกรรม
สร้างแรงจูงใจ จูงใจแก่เด็กที่มาฉีดวัคซีน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าชุดพัฒนาการเด็ก          จำนวน 85 คน
    ( 85 คน x 100 บ. )                  เป็นเงิน  8,500  บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กอายุ 0-5 ปี มารับใช้บริการฉีดวัคซีนมากขึ้นกว่าเดิม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 22,325.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้ปกครองตระหนักและเห็นความสำคัญในการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
2. เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ร้อยละ 95


>