กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะทิ้งพระ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออก ม.6

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะทิ้งพระ

อสม. หมู่ที่ 6

1.นางอรุณี สุวรรณพงศ์
2.นางสุดา รัติโชติ
3.นางอภิชญา หนูทอง
4.นางสกาวเพ็ญ มรรคโช
5.นางสายสวาท สุกเกลี้ยง

หมู่ที่ 6 ตำบลจะทิ้งพระ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออก

ชื่อกิจกรรม
โครงการชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดทำโครงการ 2.แต่งตั้งคณะทำงานโครงการชุมชนร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายฯ 3.เขียนโครงการเพื่อเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลจะทิ้งพระ เพื่อขออนุมัติเงินสนับสนุนโครงการฯ 4.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกันวางแผนดำเนินการ 5.แจ้งผู้นำชุมชนผู้เกี่ยวข้องฯ 6.ดำเนินการประชาสัมพันธ์และอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและขอความร่วมมือให้ประชาชนทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลาย 8.รณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน โดยวิธี - เคาะประตูบ้านในชุมชน พร้อมร่วมกันดำเนินการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน - ใส่สารเคมี ทรายอะเบท ในตุ่มน้ำใช้ในครัวเรือน และพ่นสารเคมีกำจัดยุงลายในพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่เกิดโรคทันทีเมื่อมีการระบาด 9.ครอบครัวสำรวจลูกน้ำยุงลายด้วยตัวเองทุกสัปดาห์ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตรับผิดชอบ 10.ติดตามและประเมินผลความพึงพอใจในการดำเนินกิจกรรม

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ประชาชนในเขตพื้นที่หมู่บ้านมัจฉา หมู่ที่ 6 ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา และพื้นที่ใกล้เคียง มีอัตราป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกลดลงร้อยละ 80 2.แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชนมัสยิดลดลงร้อยละ 80 3.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ รวมทั้งการดูแลเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสมร้อยละ 75

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>