กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่างิ้ว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ สุขภาพจิตดี สุขภาพกายแข็งแรง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่างิ้ว

ศูนย์พัฒนาครอบครัวตำบลท่างิ้ว

นางสมหมายแก้วละเอียด
นางเสาวคนบรรจงช่วย
นายสันติสุขหวังสุข
นางสาววิรวรรณมานู
นางสาวอัจฉราพรเพ็ญจันทร์

ปาล์มแก้วรัสอร์ท ตำบลทับปริก อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน)

 

40.00
2 จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองแล้วมีภาวะซึมเศร้าและกังวล(คน)

 

40.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีขึ้น สมาชิกในครอบครัวสามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง. 2. เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวได้เรียนรู้ถึงบทบาทหน้าที่และการสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว 3.เกิดการสร้างสัมพันธภาพที่ดีของสมาชิกในครอบครัว ส่งผลให้เกิดครอบครัวอบอุ่นในพื้นที่เพิ่มขึ้น 4.เพื่อได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานด้านการส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุและครอบครัวของศูนย์พัฒนาครอบครัวและโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลไสไทย

1.ร้อยละ 80 ของผู้เข้าอบรม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ 2.เข้าอบรม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และการสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว ร้อยละ 80 3.สามารถนำความรู้ที่ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้มาปรับใช้กับการทำงานด้าน ศพค. และโรงเรียนผู้สูงอายุในพื้นที่ ร้อยละ 75 4.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายที่ลงเยี่ยมบ้านหลังจัดโครงการมีสัมพันธภาพในครอบครัวที่ดีขึ้น

50.00 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2019

กำหนดเสร็จ 31/08/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมค่ายอบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมค่ายอบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. อบรมวิชาการให้ความรู้ตามหัวข้อต่างๆ
  2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานด้านการส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุและครอบครัวของศูนย์พัฒนาครอบครัวและโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลไสไทย ณ องค์การบริหารส่วนตำบล ไสไทย  อำเภอเมือง  จังหวัดกระบี่
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าอบรม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ
  2. ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และการสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว ร้อยละ ๘๐
  3. สามารถนำความรู้ที่ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้มาปรับใช้กับการทำงานด้านการดูแลผู้สูงอายุ ร้อยละ ๗๕
  4. ร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าอบรมที่ได้รับการลงเยี่ยมบ้านหลังจัดโครงการ มีสัมพันธภาพในครอบครัวที่ดีขึ้น
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
62450.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 62,450.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีจิตใจแจ่มใสลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
2. เกิดความรักความเข้าใจมากขึ้นในครอบครัว ผู้สูงอายุได้รับการดูแลที่ดี ได้รับการเอาใจใส่
3. ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
4. มีเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านครอบครัวคนในครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเองมากขึ้น
5. เกิดความรัก ความสามัคคี มีการเอื้ออาทรในชุมชน
6. คณะทำงาน ศพค. และแกนนำผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้นำความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากตำบลไสไทย มาพัฒนาการทำงานในพื้นที่


>