กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการส่งเสริมสุขภาพโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเรื้อรังในคลินิกจ่ายยาเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้ป่วยเรื้อรังในคลินิกจ่ายยาเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด

ทีมสุขภาพคลินิกเติมยาโรคเรื้อรัง

1. นางสุกัญญา ขำยาประธานชมรมทีมสุขภาพคลินิกเติมยาโรคเรื้อรังและผุู้ประสานงานผู้ป่วยเรื้อรังหมู่ที่ 2
2. นายสมศักดิ์ ปุรินทราภิบาล รองประธานชมรมทีมสุขภาพฯและผู้ประสานงานผู้ป่วยเรื้อรังหมู่ที่ 5
3. นางจุไร นาคมิตรกรรมการและผู้ประสานงานผู้ป่วยเรื้อรัง หมู่ที่ 4
4. นางหทัยพร ดำฝ้าย กรรมการและผู้ประสานงานผู้ป่วยเรื้อรัง หมุู่ที่ 8
5. นางนภัสรพีเดชอะรัญ กรรมการและผู้ประสานงานผู้ป่วยเรื้อรัง หมู่ที่ 7
6. นางปรียานุชเกื้อสกุล กรรมการและผู้ประสานงานผู้ป่วยเรื้อรัง หมู่ที 9
7. นางสาวสุภาพรช่วยอนันต์ กรรมการและผู้ประสานงานผู้ป่วยเรื้อรัง หมู่ที่ 11

รพ.สต.บ้านต้นไทร , ห้องประชุมเทศบาลตำบลนาโหนด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เพื่อลดความเสี่ยงผู้ป่วยเรื้อรังมีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง CVA

 

2.00
2 ผู้ป่วยเรื้อรังมีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อครอบคลุมโรคได้ถุูกต้อง

 

2.00
3 ผู้ป่วยเรื้อรังไม่มีภาวะแทรกซ้อน

 

2.00

สำหรับประเทศไทย รายงานจากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ ๔พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๒พบความชุกของโรคเบาหวานในประชากรไทยอายุ ๑๕ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ ๖.๙ ทั้งนี้พบว่าหนึ่งในสามของผู้ที่เป็นเบาหวานไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานมาก่อน และมีผู้ที่ได้รับ การวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานแต่ไม่ได้รับการรักษา คิดเป็นร้อยละ ๓.๓ สถิติจากประเทศต่างๆ พบว่าผู้ป่วย เบาหวานที่สามารถควบคุมน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมได้มีประมาณร้อยละ ๒๐-๗๐
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทร จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ปีงบประมาณ๒๕๖2 ทำต่อเนื่องจากปีงบประมาณ ๒๕๖1เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยและป้องกันการขาดยาซึ่งมีจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน ๔4 คน และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๑๓8 คน รวมจำนวน 182 คน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเรื้อรังมีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)ลดลง

2.00 145.00
2 ร้อยละของผู้ป่วยเรื้อรังได้รับความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้อง

ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเรื้อรังสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อครอบคลุมโรคได้ถูกต้อง

2.00 145.00
3 ร้อยละของผู้ป่วยเรื้อรังไม่มีภาวะแทรกซ้อน

ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเรื้อรังไม่มีภาวะแทราซ้อน

2.00 145.00

สำหรับประเทศไทย รายงานจากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ ๔พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๒พบความชุกของโรคเบาหวานในประชากรไทยอายุ ๑๕ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ ๖.๙ ทั้งนี้พบว่าหนึ่งในสามของผู้ที่เป็นเบาหวานไม่เคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานมาก่อน และมีผู้ที่ได้รับ การวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวานแต่ไม่ได้รับการรักษา คิดเป็นร้อยละ ๓.๓ สถิติจากประเทศต่างๆ พบว่าผู้ป่วย เบาหวานที่สามารถควบคุมน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมได้มีประมาณร้อยละ ๒๐-๗๐
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทร จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ปีงบประมาณ๒๕๖2 ทำต่อเนื่องจากปีงบประมาณ ๒๕๖1เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยและป้องกันการขาดยาซึ่งมีจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน ๔4 คน และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๑๓8 คน รวมจำนวน 182 คน

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 182
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 10/06/2019

กำหนดเสร็จ 12/06/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมผู้ป่วยโรคเรื้อรังในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน

ชื่อกิจกรรม
อบรมผู้ป่วยโรคเรื้อรังในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วันที่ 10 มิถุนายน 2562 - 12 มิถุนายน 2562 โดยแบ่งผู้ป่วยเรื้อรังออกเป็น 3 กลุ่มๆละ ประมาณ 50-60 คน ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าอบรมผุู้ป่วยโรคเรื้อรังจำนวน 182 คน และผู้ช่วยดูแลผู้ป่วยเรื้อรังในกิจกรรมอบรมหมู่บ้านละ 5 คน ทั้งหมด 7 หมู่บ้าน จำนวน 35 คน รวมผู้เข้าอบรมทั้งหมดจำนวน 217 คนๆละ 3 มื้อๆละ 50 บาท เป็นเงิน 32,550 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดืมสำหรับผู้เข้าอบรมผุู้ป่วยโรคเรื้อรังจำนวน 182 คน และผู้ช่วยดูแลผู้ป่วยเรื้อรังในกิจกรรมอบรมหมู่บ้านละ 5 คน ทั้งหมด 7 หมู่บ้าน จำนวน 35 คน รวมผู้เข้าอบรมทั้งหมดจำนวน 217 คนๆละ 6 มื้อๆละ 20 บาท เป็นเงิน 26,040 บาท ค่าสมนาคุณวิทยากรอบรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 3 คนๆละ 3 วันๆละ 4 ชั่วโมงๆละ 300 บาท เป็นเงิน 10,800 บาท ค่าวัสดุเติมยาเพื่อลดภาวะโลกร้อนและป้องกันยาเสื่อมสภาพและให้ผู้ป่วยรับประทานยาสม่ำเสมอจำนวน 182 ชุดๆละ 30 บาท เป็นเงิน 5,460 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ป่วยเรื้อรังสามารถมีความรุู้ความเข้าใจโรคความดันโลหิตสุูงและโรคเบาหวาน ผู้ป่วยเรื้อรังสามารถมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีการควบคุมนำ้ตาลในเลือดและควบคุมความดันโลหิตได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
74850.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 74,850.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผู้ป่วยเรื้อรังสามารถควบคุมอาการของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้ร้อยละ 80
ผู้ป่วยเรื้อรังไม่มีภาวะแทรกซ้อนร้อยละ 80


>