กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2562

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2562

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน

รพ.สต.วังประจัน

1…นายวัฒนชัย ไชยจิตต์………
2…นางรสนา บินหมาน………………………
3…นางสาวมารียา สุขสง่า………………………………
4…นางอภิยา เหตุทอง………………………………..
5…นางวนิดา ศรีริภาพ…………………………………..

ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนเด็กเล็ก (0-2 ปี)ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ (น้ำหนักน้อย,น้ำหนักค่อนข้างน้อย) (คน)

 

13.00
2 จำนวนเด็กเล็ก (0-2 ปี)ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(ค่อนข้างเตี้ย,เตี้ย) (คน)

 

10.00
3 จำนวนเด็กเล็ก (0-2 ปี)ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(น้ำหนักมาก,ค่อนข้างมาก) (คน)

 

5.00
4 จำนวนเด็กก่อนวัยเรียน 0-5 ปี ที่มีฟันผุ (คน)

 

136.00

การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นเป้าหมาย
สำคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาวะ (well-being) ทั้งมิติทางกาย ใจ สังคม และปัญญา (จิตวิญญาณ) และมิติของคน ครอบครัว ชุมชน และสังคมมากขึ้น โดยเริ่มจากวัยต้นของชีวิต คือ เด็กปฐมวัยซึ่งเป็นวัยที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และเป็นวัยที่เริ่มต้นการรับรู้และรับรู้ เพื่อเป็นพื้นฐานของช่วงวัยต่อไปปัญหาในการดำเนินส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย พบว่า เด็กยังประสบปัญหาภาวะทุพโภชนาการเป็นจำนวนมาก จากรายงานการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการเด็ก 0-72 เดือน ปี พ.ศ. 2560 - 2561 พบว่า เด็กปฐมวัยมีปัญหาภาวะผอมและเตี้ย ร้อยละ23.16และ 19.77 ตามลำดับ อย่างไรก็ตามแม้จากรายงานขนาดของปัญหาจะลดลง แต่ก็ยังสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศระดับภาคและเป้าหมายแผนสาธารณสุขฉบับที่ 10ที่กำหนดไว้ว่าภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน ไม่เกินร้อยละ 7ซึ่งพัฒนาการทางด้านร่างกายนี้อาจส่งผลต่อพัฒนาการทางด้านสติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคมของเด็กตามมาจำเป็นต้องมีการส่งเสริมและพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการที่สมวัยในทุกด้านของชีวิตการแก้ไขปัญหาโดยการมีมุมส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็กในสถานพยาบาลและการดำเนินงานแก้ไขปัญหาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กโดยเจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลดน้อยหรือหมดไปได้สิ่งสำคัญจะต้องมีการให้ความรู้แก่พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็กและส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังประจันจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2562 ขึ้นเพื่อสร้างความตระหนักให้ครอบครัวและชุมชน ได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง และเพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก(0-2 ปี)ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(น้ำหนักน้อย,น้ำหนักค่อนข้างน้อย,ค่อนข้างเตี้ย,เตี้ย,น้ำหนักมาก,ค่อนข้างมาก)รวมทั้งเพื่อให้นักเรียนในศูนย์เด็กเล็กและเด็กเล็กได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชและเพื่อให้ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกได้โดยวิถีSELFCAREมีกระบวนการทำงานโดยจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบบFocusgroupเกี่ยวกับด้านอาหารและโภชนาการพื้นฐานเมนูพื้นบ้านความรู้สู่การปฏิบัติแก่ผู้ปกครองของเด็กที่มีน้ำหนักน้อย,น้ำหนักค่อนข้างน้อย,ค่อนข้างเตี้ย,เตี้ย,น้ำหนักมาก,ค่อนข้างมากเพื่อเป็นแนวทางในการดูแลบุตรรวมทั้งจัดเสวนาเรื่องทันตสุขภาพแก่ผู้ปกครองนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและฝึกภาคปฏิบัติทักษะการแปรงฟันให้แก่ลูก

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อแก้ไขปัญหาเด็กเล็ก (0-2 ปี)ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(น้ำหนักน้อย,น้ำหนักค่อนข้างน้อย)(ขนาด 13)

ร้อยละของเด็ก 0-2 ปีที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(น้ำหนักน้อย,น้ำหนักค่อนข้างน้อย) ลดลง 50

13.00 7.00
2 2.เพื่อแก้ไขปัญหาเด็กเล็ก (0-2 ปี)ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(ค่อนข้างเตี้ย,เตี้ย)(ขนาด 10)

ร้อยละของเด็ก 0-2 ปีที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(ค่อนข้างเตี้ย,เตี้ย) ลดลง 50

10.00 5.00
3 2.เพื่อแก้ไขปัญหาเด็กเล็ก (0-2 ปี)ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(น้ำหนักมาก,ค่อนข้างมาก)(ขนาด 5)

ร้อยละของเด็ก 0-2 ปีที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(น้ำหนักมาก,ค่อนข้างมาก) ลดลง 60

5.00 3.00
4 เพื่อให้นักเรียนในศูนย์เด็กเล็กและเด็กเล็กได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช

เด็กนักเรียนในศูนย์เด็กเล็กบ้านวังประจันและเด็กเล็กในชุมชนได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 100

0.00
5 เพื่อให้ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกได้โดย วิถี SELF CARE

ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 100

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 208
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/07/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็ก 0 – 2 ปี ในช่วงไตรมาสที่ผ่านมา

ชื่อกิจกรรม
เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็ก 0 – 2 ปี ในช่วงไตรมาสที่ผ่านมา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ประชุมชี้แจงแก่คณะทำงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังประจัน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมชี้แจงแก่คณะทำงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังประจัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ

ชื่อกิจกรรม
จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 เตรียมประชุม วางแผนในการดำเนินโครงการระหว่างเจ้าหน้าที่ และนักจัดการสุขภาพประจำตำบลเพื่อเตรียมชุมชน สถานที่ เด็ก 0-2 ปี และผู้ปกครองในกลุ่มเป้าหมาย ตามวันเวลาที่ออกดำเนินการ

ชื่อกิจกรรม
เตรียมประชุม วางแผนในการดำเนินโครงการระหว่างเจ้าหน้าที่ และนักจัดการสุขภาพประจำตำบลเพื่อเตรียมชุมชน สถานที่ เด็ก 0-2 ปี และผู้ปกครองในกลุ่มเป้าหมาย ตามวันเวลาที่ออกดำเนินการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 66 คน =  1,650 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1650.00

กิจกรรมที่ 5 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการFocusgroup เกี่ยวกับด้านอาหารและโภชนาการพื้นฐานเมนูพื้นบ้าน ความรู้สู่การปฏิบัติ แก่ผู้ปกครองของเด็กที่มีน้ำหนักน้อย,น้ำหนักค่อนข้างน้อยจำนวน13 คน เพื่อเป็นแนวทางในการดูแลบุตรโดยออกตามหมู่บ้านหมู่บ้านละ 1วัน

ชื่อกิจกรรม
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการFocusgroup เกี่ยวกับด้านอาหารและโภชนาการพื้นฐานเมนูพื้นบ้าน ความรู้สู่การปฏิบัติ แก่ผู้ปกครองของเด็กที่มีน้ำหนักน้อย,น้ำหนักค่อนข้างน้อยจำนวน13 คน เพื่อเป็นแนวทางในการดูแลบุตรโดยออกตามหมู่บ้านหมู่บ้านละ 1วัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม13คนๆ ละ 50บาท เป็นเงิน 650บาท -ค่าอาหารกลางวัน13คนคนๆ ละ 50บาท เป็นเงิน 650บาท -ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 4 ชม.ๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1200 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ54ของเด็ก0-2 ปีสูงดีสมส่วน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2500.00

กิจกรรมที่ 6 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการFocusgroup เกี่ยวกับด้านอาหารและโภชนาการพื้นฐานเมนูพื้นบ้าน ความรู้สู่การปฏิบัติ แก่ผู้ปกครองของเด็กที่มีค่อนข้างเตี้ย,เตี้ยจำนวน10 คน เพื่อเป็นแนวทางในการดูแลบุตรโดยออกตามหมู่บ้านหมู่บ้านละ 1วัน

ชื่อกิจกรรม
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการFocusgroup เกี่ยวกับด้านอาหารและโภชนาการพื้นฐานเมนูพื้นบ้าน ความรู้สู่การปฏิบัติ แก่ผู้ปกครองของเด็กที่มีค่อนข้างเตี้ย,เตี้ยจำนวน10 คน เพื่อเป็นแนวทางในการดูแลบุตรโดยออกตามหมู่บ้านหมู่บ้านละ 1วัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม10คนๆ ละ 50บาท เป็นเงิน 500บาท -ค่าอาหารกลางวัน10คนคนๆ ละ 50บาท เป็นเงิน 500บาท -ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 4 ชม.ๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1200 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ54ของเด็ก0-2 ปีสูงดีสมส่วน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2200.00

กิจกรรมที่ 7 เรียนรู้โดยการ Focus group เกี่ยวกับด้านอาหารและโภชนาการพื้นฐาน เมนูพื้นบ้าน ความรู้สู่การปฏิบัติ แก่ผู้ปกครองของเด็กที่มีน้ำหนักมาก,ค่อนข้างมาก จำนวน 5 คน เพื่อเป็นแนวทางในการดูแลบุตร โดยออกตามหมู่บ้านหมู่บ้านละ 1 วัน

ชื่อกิจกรรม
เรียนรู้โดยการ Focus group เกี่ยวกับด้านอาหารและโภชนาการพื้นฐาน เมนูพื้นบ้าน ความรู้สู่การปฏิบัติ แก่ผู้ปกครองของเด็กที่มีน้ำหนักมาก,ค่อนข้างมาก จำนวน 5 คน เพื่อเป็นแนวทางในการดูแลบุตร โดยออกตามหมู่บ้านหมู่บ้านละ 1 วัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  5  คนๆ ละ 50  บาท     เป็นเงิน 250  บาท -  ค่าอาหารกลางวัน  5  คน  คนๆ ละ 50  บาท     เป็นเงิน 250  บาท รวม 500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ  54  ของเด็ก  0-2 ปี  สูงดีสมส่วน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
500.00

กิจกรรมที่ 8 กิจกรรมติดตามเยี่ยมเด็กทุพโภชนาการ 3 ครั้ง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมติดตามเยี่ยมเด็กทุพโภชนาการ 3 ครั้ง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม28 คนๆ ละ 50บาทX3 ครั้งเป็นเงิน4200บาท -ค่าอาหารกลางวัน28คนคนๆ ละ 50บาทX3 ครั้งเป็นเงิน 4200 บาท เป็นเงิน 8400 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เด็ก 0-72 เดือนได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ได้ตามเป้าหมาย
  2. ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน ลดลง
  3. ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลเด็กด้านโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8400.00

กิจกรรมที่ 9 จัดเสวนา เรื่องทันตสุขภาพแก่ผู้ปกครองนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและฝึกภาคปฏิบัติ ทักษะการแปรงฟันให้แก่ลูก

ชื่อกิจกรรม
จัดเสวนา เรื่องทันตสุขภาพแก่ผู้ปกครองนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและฝึกภาคปฏิบัติ ทักษะการแปรงฟันให้แก่ลูก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม100 คนๆ ละ 50บาท เป็นเงิน 5000บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน100คนคนๆ ละ 50บาทเป็นเงิน 5000 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑. เด็กนักเรียนในศูนย์เด็กเล็กบ้านวังประจันและเด็กเล็กในชุมชนได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 100 ๒. ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 100

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

กิจกรรมที่ 10 สรุป/ประเมินภาวะโภชนาการและรายงานผล ในเด็กที่มีภาวะที่พบขาดสารอาหารรุนแรงประสานงานกับโรงพยาบาลควนโดนเพื่อส่งเข้าคลินิกรักษาต่อ

ชื่อกิจกรรม
สรุป/ประเมินภาวะโภชนาการและรายงานผล ในเด็กที่มีภาวะที่พบขาดสารอาหารรุนแรงประสานงานกับโรงพยาบาลควนโดนเพื่อส่งเข้าคลินิกรักษาต่อ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สรุปผลการดำเนินงานแก่ผู้ปกครองและนักจัดการสุขภาพ จำนวน 60 คน -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คนๆละ 50 บาท เป็นเงิน 3000 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คนๆละ 25 บาท 2 มื้อ เป็นเงิน 3000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 31,250.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. เด็กนักเรียนในศูนย์เด็กเล็กบ้านวังประจันและเด็กเล็กในชุมชนได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 100
๒. ผู้ปกครองสามารถเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน
3.ผู้ปกครองได้แปรงฟันและดูแลสุขภาพช่องปากให้ลูกอย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 100
4.ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลเด็กด้านโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก


>