กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมการทำน้ำหมักชีวภาพเพื่อทดแทนการใช้สารเคมี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว

คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 8

1.นายคณิตย์แท่นจันทร์
2.นายปรีชา หล่อพงศ์
3.นางกลอยใจรัตนโกศัย
4.นายวิโรจน์นุ้ยฉิม
5.นายประเสริฐไชยแก้ว

หอประชุมหมู่บ้าน หมู๋ที่ 8 ตำบลบ้านพร้าว

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันปัญหาการใช้สารเคมีในกระบวนการผลิตทางด้านการเกษตร เช่น การปลูกข้าว การปลูกผักสวนครัวและการเลี้ยงสัตว์ ส่งผลกระทบต่อผู้ผลิตโดยตรงซึ่งคนในชุมชนมีการเจ็บป่วย ระบบทางเดินหายใจและโรคผิวหนัง เช่นอาการแพ้และผื่นคัน ตามร่างกายและยังมีสารพิษตกค้างในร่างกาย ที่อยู่ในข้าวและพืชผัก การใช้สารเคมีในการทำการเกษตร เช่นการใช้ปุ่ยเคมี ยาฆ่าแมลง หรืออื่นๆ ไม่เพียงพอแต่ผู้ผลิต ผู้บริโภคนั้น แต่ยังส่งผลกระทบต่อทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในชุมชน เช่น ดิน แหล่งน้ำ พืช และสัตว์น้ำ ซึ่งหากคนในชุมชนยังขาดความรู้และตระหนักในปัญหาดังกล่าวแล้วผลกระทบที่เกิดขึ้นก็จะส่งผลกระทบในระยะยาว ดังนั้นการเสนอโครงการการทำน้ำหมักชัวภาพทดแทนการใช้สารเคมี จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะให้คนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจในการลดการใช้สารเคมี กลับมาทำเกษตรอินทรีย์ ที่มีความปลอดภัย ไปสู่ความมั่นคงทางด้านอาหารและสุขภาพของคนในชุมชน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1.เพื่อให้เกษตรกรในหมู่ที่ 8 ลดการใช้สารเคมีในการปลูกผัก
2.เพื่อให้ประชาชนผู้บริโภคมีสุขภาพดี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ประชาชนที่ทำเกษตรกรในหมู่ที่ 8 50

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะที่ถูกต้องและการทำน้ำหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์เหลือใช้ -ค่าป้ายโครงการ 13 เมตร -ค่าวิทยากร 3005ชม. -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คนๆละ2มื้อๆละ25บาท -ค่าวัสดุกากน้ำตาล 25 แกนลอนๆละ330บาท -ค่าวัสดุถังน้ำหมัก 50ใบๆ120

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
22700.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 22,700.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ประชนชนสามารถนำขยะไปใช้ประโยชน์มากขึ้นและลดปริมาณการกำจัดขยะมากขึ้น


>