กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

อาหารเพื่อสุขภาพผู้สูงอายุบ้านสันคีรี ประจำปี 2562

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง

กลุ่มผู้สูงอายุประชานิมิตร

1. นางถินนิลวิจิตร์
2. นางประจิมเมธา
3. นางประมูลตราโชว์
4. นางจำเนียรแสงสี
5. นางสมนึกศิริอักษร

ม. 4บ้านประชานิมิตร ต.กาหลงอ.ศรีสาครจ.นราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้สูงอายุรู้จักบริโภคอาหารตามหลักอนามัย

 

60.00

ในปัจจุบันวัยผู้สูงอายุมักจะเกิดความเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ และสังคม โดยเฉพาะทางร่างกาย ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ เสื่อมลง เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบต่าง ๆ เช่น ผิวหนัง ผม ตา หู จมูก ลิ้น ฟัน เป็นต้น สิ่งสำคัญอีกเรื่องในวัย ผู้สูงอายุคือ โภชนาการสำหรับวัยผู้สูงอายุ นั่นคือสารอาหารที่เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย ผู้สูงอายุมีความต้องการพลังงานและสารอาหารในปริมาณที่เหมาะสม เช่นเดียวกับบุคคลวัยอื่น ๆ โดยที่ความต้องการพลังงานของร่ายกายลดลงเนื่องจากการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ น้อยลงกว่าเดิม จึงได้ตระหนักถึงการบริโภคอาหารตลอดจนการประกอลอาหารที่ถูกต้องในวัยสูงอายุ จึงได้จัดโครงการอาหารเพื่อสุขภาพผู้สูงอายุ ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความเข้าใจเกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่เหมาะสม

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแล มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ

ผู้สูงอายุและผู้ดูแล มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้นร้อยละ 80

2.00 1.00
2 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลตระหนักถึงการบริโภคอาหาร

ผู้สูงอายุและผู้ดูแลตระหนักถึงการบริโภคอาหารเพิ่มขึ้น ร้อยละ  80

5.00 1.00
3 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแล สามารถประกอบอาหารที่ถูกต้อง

ผู้สูงอายุและผู้ดูแล สามารถประกอบอาหารที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80

3.00 1.00
4 4. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจแก่ผู้สูงอายุให้มีัทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพ

ผู้สูงอายุมีขวัญกำลังใจและทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้นร้อยละ80

3.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2019

กำหนดเสร็จ 30/11/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ สาธิตและร่วมประกอบอาหาร

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้ สาธิตและร่วมประกอบอาหาร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารผู้สูงอายุและผู้ดูแล   20  คน  1 มื้อ  ๆละ  50  บาท   เป็นเงิน     1,000  บาท -ค่าอาหารว่างผู้สูงอายุและผู้ดูแล  20  2  มื้อ ๆ ละ  25  บาท   เป็นเงิน        1,000  บาท -ค่วิทยากร  1  คน  4  ชั่วโมง  600  บาท     เป็นเงิน  2,400  บาท -ค่าป้ายโครงการฯ กว้าง  90  ซม.  ยาว  130  ซม.    1 ป้าย   เป็นเงิน  550  บาท
  • ค่าวัสดุอุปกรณ์     เป็นเงิน   10,050  บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละของผู้สูงอายุได้บริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ ทำให้สุขภาพดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้สูงอายุและผู้ดูแล มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ
2. ผู้สูงอายุและผู้ดูแลตระหนักถึงการบริโภคอาหาร
3. ผู้สูงอายุและผู้ดูแลสามารถประกอบอาหารที่ถูกต้องเหมาะสม
4. ผู้สูงอายุมีขวัญกำลังใจ และมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพ


>