กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการประโยชน์ของ สมุนไพรใกล้บ้าน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง

สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น [ข้อ 7(2)]

กลุ่มหรือองค์กรประชาชนตั้งแต่5 คน

หมู่ที่ 5 ตำบลกาบัง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ในชุมชนหมู่ที่ 5 ตำบลกาบัง มีภูมิปัญญาการใช้สมุนไพรพื้นบ้านในการดูแลสุขภาพมีมาดั้งเดิม แต่ปัจจุบันชาวบ้านเล็งเห็นความสำคัญน้อยลง หันไปใช้ยาแผนปัจจุบันมากขึ้น และใช้ยาไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม สิ่งเหล่านี้ส่งผลให้ภูมิปัญญาและองค์ความรู้การดูแลสุขภาพเดิมที่มีอยู่ในชุมชนไม่ได้รับการพัฒนาและถูกทอดทิ้งจากคนรุ่นใหม่ขาดการสืบทอด ทำให้ชุมชนรับประโยชน์จาก ภูมิปัญญาการใช้สมุนไพรพื้นบ้านไทย ทั้งที่เป็นตัวหมอพื้นบ้าน ตำรา พันธ์พืชที่ใช้เป็นยาสมุนไพร วิธีการการรักษาโรค ตลอดจนสังคมวัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิต มีความสำคัญและเป็นสิ่งล้ำค่าที่ควรคู่กับชาวบ้าน เพื่อเป็นมรดกต่อลูกหลานในการสืบทอดองค์ความรู้สมุนไพรพื้นบ้าน และลดการใช้ยาปฏิชีวนะ ยาชุด ยาสเตียรอยด์ ที่ไม่เหมาะสม
ดังนั้นกลุ่มสตรีหมู่ที่ 5 ตำบลกาบัง จึงเล็งเห็นความสำคัญของสมุนไพรในหมู่บ้าน จึงมีการจัดทำโครงการประโยชน์ของ สมุนไพรใกล้บ้าน เพื่อให้ประชาชนหมู่ที่ 5 ตำบลกาบัง ได้เรียนรู้ถึงคุณค่าของสมุนไพร และหันมาปลูกพืชสมุนไพร และนำมาใช้ในชีวิตประจำวันให้มากขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ชาวบ้าน หมู่ที่ 5 ตำบลกาบัง มีความรู้และเล็งเห็นคุณค่าของสมุนไพรและมีการจัดการแบบยั่งยืน

ร้อยละของผลการวัดระดับความรู้ ก่อนและหลังการอบรม จำนวนครัวเรือนที่มีการปลูกสมุนไพรมาใช้ในครัวเรือน ชาวบ้านในชุมชนสามารถนำสมุนไพรภายในชุมชนมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 79
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการประโยชน์ของ สมุนไพรใกล้บ้าน

ชื่อกิจกรรม
โครงการประโยชน์ของ สมุนไพรใกล้บ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ในชุมชนมีการใช้สมุนไพรมากขึ้น แทนการใช้ยาปฏิชีวนะ ยาชุด ยาสเตียรอยด์ ที่ไม่เหมาะสม เพื่อลดอาการข้างเคียงของยาโดยไม่จำเป็น


>