กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปียน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอาหารดี สุขภาพดี บรรยากาศดี ที่บ้านเก่า

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปียน

โรงเรียนบ้านเก่า หมู่ที่ 3 ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

นายวุฒิพงศ์ รัตนะ 0649647923
นางวราภรณ์ สุขนุ่น 0980537445
นางสาวปารมี รัตนะ 0872890772
นางวิไล ไฝสุข0849674525
นางสาวศุภลักษณ์ มโนกิจอุดม0944859784

โรงเรียนบ้านเก่า หมู่ที่ 3 ตำบลเปียน อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้) ต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมด

จากการสังเกตุ และการสัมภาษณ์ จากผู้ประกอบอาหาร ครูผู้รับผิดชอบการดำเนินการโครงการอาหารกลางวันที่ผ่านมา จะประสบปัญหาขาดแคลนวัตถุดิบโดยเฉพาะผักที่มีคุณภาพ และปลอดสารพิษ ใช้วัตถุดิบจากโครงการเกษตรพอเพียง ร้อยละ 30 ส่วนที่เหลือจัดหาจากตลาด เพื่อเป็นการจัดหาผักที่มีคุณภาพปลอดสารพิษ และเพิ่มปริมาณให้มากขึ้น จำเป็นต้องเพิ่มพื้นที่ในการเพิ่มผลผลิต

35.50
2 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

จากการสำรวจภาวะโชนการนักเรียนพบว่ามีนักเรียนที่อ้วนร้อยละ ท้วมร้อยละ ปกติ ร้อยละค่อนข้างผอมร้อยละ ผอมร้อยละ สาเหตุสืบเนื่องมาจากการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกหลักโภชนาการ จึงมีความจำเป็นที่ต้องให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหาร

62.25
3 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

จากการตอบแบบสอบถามการสำรวจ สภาพโดยทั่วไปจากจำนวนประชากรในเขตบริการของโรงเรียนจำนวน 1,195 คน มีผู้มาออกกำลังกายเพียง 82 คน คิดเป็นร้อยละ 6.86 ทำให้เกิดปัญทางด้านสุขภาพ เกิดโรคความดัน ไขมัน เบาหวานและโรคอื่น

25.50
4 ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.)

จากการสังเกตู การสอบถาม การดำเนินการโครงการอาหารกลางวันในแต่ละวันจะมีเศษวัสดุจากอาหารสดและเศษอาหารจากการรับประทานไม่ต่ำกว่าวันละ 10 กิโลกรัม มีวิธีการกำจัดขยะที่ไม่ถูกวิธีทำให้เกิดเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค ความสกปรก เพื่อให้ลดปริมาณขยะอินทรีย์ และขยะทั่วไปให้ถูกวิธี และเป็นประโยชน์ จึงจัดกิจกรรมนี้

4.50
5 จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)

จากการตอบแบบสอบถาม สำรวจ และสังเกตุ สภาพปัจจุบันในครัวเรือน สถานศึกษา ชุมชน จะมีเศษวัสดุ ขยะ ของเหลือใช้ต่างๆ มากหมาย ที่มีประโยชน์ มีค่า และอันตรายจะนำไปทิ้งรวมกัน ก่อให้เกิดปัญหากับสภาพแวดล้อม เพื่อเป็นการลดปัญหา และนำขยะมาให้เป็นประโยชน์ สภาพปัจจุบันในครัวเรือน สถานศึกษา ชุมชน จะมีเศษวัสดุ ขยะ ของเหลือใช้ต่างๆ มากหมาย ที่มีประโยชน์ มีค่า และอันตรายจะนำไปทิ้งรวมกัน ก่อให้เกิดปัญหากับสภาพแวดล้อม เพื่อเป็นการลดปัญหา และนำขยะมาให้เป็นประโยชน์

50.00
6 จำนวนครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)

จากการสำรวจ การตอบแบบสอบถาม สภาพปัจจุบันในครัวเรือน สถานศึกษา ชุมชน จะมีเศษวัสดุ ขยะ ของเหลือใช้ต่างๆ มากหมาย ที่มีประโยชน์ มีค่า และอันตรายจะนำไปทิ้งรวมกันชุมชนครอบครัวที่มีการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง ตามระบบมีน้อยมาก เพื่อลดปัญหาที่เกิดกับสภาพแวดล้อมนำขยะมาให้เป็นประโยชน์ และให้เป็นตัวอย่างกับชุมชน

65.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

เพิ่มร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

62.25 70.00
2 เพิ่มพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้)

เพิ่มร้อยละพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้) ต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมด

35.50 70.00
3 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

เพิ่มร้อยละของนักเีรยน คนที่ออกกำลังกายในชุมชน

25.50 50.00
4 เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน

ลดปริมาณขยะที่ครัวเรือน สถานศึกษาผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.)

4.50 2.00
5 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ

เพิ่มจำนวนนักเรียน ประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)

50.00 80.00
6 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ

เพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)

65.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 15
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 230
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ 15
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/09/2019

กำหนดเสร็จ 31/03/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 เพิ่มพื้นที่การปลูกผักสวนครัว

ชื่อกิจกรรม
เพิ่มพื้นที่การปลูกผักสวนครัว
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. สำรวจพื้นที่การปลูกผักสวนครัว
  2. ออกแบบเมนูอาหาร
  3. ระดมผู้ปกครองนักเรียนมาทำแปลงผัก
  4. จัดหาอุปกรณ์ในการสร้างแปลงผัก อุปกรณ์การปลูกผักสวนครัว
  5. การปลูกผักหมุนเวียนสอดคล้องกับเมนูอาหาร

ค่าใช้จ่าย

  1. ค่าอาหารกลางวัน 30 คน คนละ 50บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
  2. ค่าเครื่องดื่ม 30 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท
  3. ค่าอิฐ 200 ก้อน ก้อนละ 6 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
  4. ค่าทราย 0.5 ลบ.ม เป็นเงิน 600 บาท
  5. ค่าปูนซีเมนต์ 5 กระสอบ สอบละ 160 บาทเป็นเงิน 800 บาท
  6. ค่าพันธ์ุผัก 700 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต 1.มีผักสวนครัวหลากหลายใช้สำหรับปรุงอาหารกลางวัน
ผลลัพธ์

  1. ลดค่าใช้จ่ายในโครงการอาหารกลางวัน
    2.นักเรียนสามารถปลูกผักสวนครัวชนิดต่างๆได้
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5550.00

กิจกรรมที่ 2 การปลูกผักพื้นบ้าน

ชื่อกิจกรรม
การปลูกผักพื้นบ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. สำรวจพื้นที่การปลูกผักสวนครัว
  2. ออกแบบเมนูอาหาร
  3. ระดมผู้ปกครองนักเรียนมาปรับพื้นที่ปลูกผักพื้นบ้าน
  4. จัดหาพันธ์ุผักพื้นบ้าน

ค่าใช้จ่าย 1. ค่าอาหารกลางวัน 30 คน คนละ 50บาท เป็นเงิน 1,500 บาท 2. ค่าเครื่องดื่ม 30 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีผักพื้นบ้านหลากหลายใช้สำหรับประกอบอาหารกลางวัน ลดค่าใช้จ่ายในโครงการอาหารกลางวัน นักเรียนสามารถปลูกผักพื้นบ้านชนิดต่างๆได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2250.00

กิจกรรมที่ 3 การปลูกมะนาวในท่อ

ชื่อกิจกรรม
การปลูกมะนาวในท่อ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. สำรวจพื้นที่การปลูกมะนาวในท่อ
  2. ออกแบบเมนูอาหาร
  3. ระดมผู้ปกครองนักเรียนมาวางท่อ
  4. จัดหาอุปกรณ์ในการปลูกมะนาวในท่อ
  5. การปลูกมะนาวในท่อ

ค่าใช้จ่าย

  1. ค่าอาหารกลางวัน 30 คน คนละ 50บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
  2. ค่าเครื่องดื่ม 30 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท
  3. ค่าท่อ 20 ท่อ ท่อละ 220 บาท เป็นเงิน 4,400 บาท 4.ค่ากิ่งพันธ์ูมะนาว 20กิ่ง กิ่งละ 60 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้ผลผลิตใช้ในการประกอบอาหาร และจำหน่ายให้กับชุมชนลดค่าใช้จ่ายในโครงการอาหารกลางวัน นักเรียนสามารถปลูกมะนาวในท่อและจำหน่ายได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7850.00

กิจกรรมที่ 4 การเลี้ยงไก่ใข่

ชื่อกิจกรรม
การเลี้ยงไก่ใข่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. สำรวจ ปรับปรุงโรงเรือน
  2. ออกแบบเมนูอาหาร
  3. ระดมผู้ปกครองนักเรียนมาปรับปรุงโรงเรือน
  4. จัดหาพันธ์ุไก่ใข่

ค่าใช้จ่าย

  1. ค่าอาหารกลางวัน 30 คน คนละ 50บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
  2. ค่าเครื่องดื่ม 30 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท
  3. ค่าพันธ์ุไก่ใข่ จำนวน 108 ตัว ตัวละ 180 บาทคิดเป็นเงิน 12,240 บาท
  4. ค่าอาหารไก่จำนวน 100 กระสอบ กระสอบละ 390 บาท เป็นเงิน 39,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้ผลผลิตใช้ในการประกอบอาหาร และจำหน่ายให้กับชุมชนลดค่าใช้จ่ายในโครงการอาหารกลางวัน นักเรียนสามารถเลี้ยงไก่ใข่และจำหน่ายได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
53490.00

กิจกรรมที่ 5 การออกกำลังกายตอนเย็น

ชื่อกิจกรรม
การออกกำลังกายตอนเย็น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. สำรวจความต้องการของนักเรียน ชุมชน
  2. ออกแบบการออกกำลังกาย
  3. จัดหาวิทยากรผู้นำออกกำลังกาย

ค่าใช้จ่าย

  1. ค่าตอบแทนวิทยากรครั้งละ 150 บาท จำนวน 90 วัน เป็นเงิน 13,500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีผู้ปกครอง นักเรียน และชุมชน เข้าร่วมออกกำลังกาย ผู้ปกครอง นักเรียน มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์ แข็งแรง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13500.00

กิจกรรมที่ 6 การกำจัดขยะอินทรีย์

ชื่อกิจกรรม
การกำจัดขยะอินทรีย์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. สำรวจความต้องการของครัวเรือนนักเรียน
  2. อบรม ประชุมการกำกัดขยะอินทรีย์ในครัวเรือน
  3. จัดหาถังขยะอินทรีย์

ค่าใช้จ่าย

  1. ค่าเครื่องดื่ม 100 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
  2. ค่าถังขยะ 100 ใบ ใบละ 90 บาท เป็นเงิน 9,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

สถานคึกษา ชุมชนมีการกำจัดขยะอินทรีย์ในครัวเรือน สถานคึกษาสถานคึกษา ชุมชนมีการกำจัดขยะอินทรีย์ในครัวเรือน สถานคึกษาที่ถูกวิธีและมีประโยชน์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11500.00

กิจกรรมที่ 7 การคัดแยกขยะ

ชื่อกิจกรรม
การคัดแยกขยะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. สำรวจความต้องการของครอบครัวนักเรียน
  2. อบรมเชิงปฏิบัติการ การคัดแยกขยะ

ค่าใช้จ่าย

  1. ค่าเครื่องดื่ม 100 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

สถานศึกษา ชุมชน มีการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง ปริมาณขยะลดลง มัรายได้เพิ่มเติม ลดค่าใช้จ่าย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 96,640.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ ขึ้นร้อยละ 20
2. เพิ่มร้อยละพื้นที่ผลิตอาหาร (ข้าว ผัก ผลไม้) ต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในโรงเรียน ขึ้นร้อยละ 25
3. เพิ่มร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน ขึ้นร้อยละ 20
4. ลดปริมาณขยะที่สถานศึกษา ครัวเรือนผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.) ลงร้อยละ20
5. เพิ่มจำนวนนักเรียน ประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน) ขึ้นร้อยละ50
6. เพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้อง(ครัวเรือน) ขึ้นร้อยละ 20


>