กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

พัฒนาระบบการดำเนินงานบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองเขารูปช้าง

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

พัฒนาระบบการดำเนินงานบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองเขารูปช้าง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง

ฝ่ายเลขานุการกองทุนฯ

นายบุญเลิศ แก้วเอียด 074302555 ต่อ503

สำนักงานเทศบาลเมืองเขารูปช้าง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ 2545 มาตรา13 (3) มาตรา18 (4) (8) (9) และมาตรา 47 ประกอบกับประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่องหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและบริหารจัดการระบบ หลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่พ. ศ. 2561 ข้อ 6 ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในท้องถิ่นหรือพื้นที่โดยให้มีกองทุนที่มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการจัดการสาธารณสุข ของหน่วยบริการ สถานบริการหน่วยงานสาธารณสุขหน่วยงานหรือองค์กรหรือ คณะประชาชน เพื่อให้บุคคลสามารถเข้าถึง บริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้นโดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อมความเหมาะสมและความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นทั้งนี้ตามหลักเกณฑ์ในประกาศนี้และมติคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาตินั้น
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นวรรณกรรมชิ้นสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพและประสานหน่วยงานองค์กรและการผลิตเครือข่าย ในพื้นที่เข้ามาค้นปัญหาและความต้องการของประชาชนร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมกิจกรรมด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาสุขภาพเชิงรุกและฟื้นฟูสมรรถภาพ ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ด้วยการนำแผนยุทธศาสตร์หรือแผนสุขภาพชุมชนมาเป็นเครื่องมือบริหาร การเปลี่ยนแปลงจนทำให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตัวเองและสร้างกลไกทางสังคมที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ไขปัญหาต่างๆที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาระบบการดำเนินการ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและบริหารจัดการกองทุนฯตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

สามารถดำเนินการบริหารจัดการกองทุนฯ ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนดและไม่พบข้อทักท้วงของสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน

0.00
2 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการกองทุนฯและการจัดโครงการให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพ

คณะกรรมการมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการดำเนินงานกองทุนฯ ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพิ่มขึ้นร้อยละ 80

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 50

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน

ชื่อกิจกรรม
จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าตอบแทนการประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน เป็นเงิน 70,000 บาท 2. ค่าอาหารกลางวัน  อาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน 50,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.คณะกรรมการกองทุนฯและผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจแนวทางการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนฯ 2.มีการดำเนินงานอย่างบูรณาการและมีส่วนร่วมในการพัฒนาสิทธิประโยชน์ที่เป็นภูมิปัญาของท้องถิ่นและสอดคล้องตามประกาศคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพกำหนด

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
120000.00

กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้อง

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงานและผู้เกี่ยวข้อง

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
300000.00

กิจกรรมที่ 3 จัดซื้อ/จัดจ้างครุภัณฑ์วัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น

ชื่อกิจกรรม
จัดซื้อ/จัดจ้างครุภัณฑ์วัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดซื้อครุภัณฑ์กองทุนฯ  เป็นเงิน 50,000 บาท 2.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์คอมพิวเตอร์  10,000 บาท 3.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์สำนักงาน 20,000  บาท 4.บริหารจัดการอื่นๆที่เกี่ยวข้อง  59,960.10 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
139960.10

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 559,960.10 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.คณะกรรมการกองทุนฯและผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจแนวทางการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนฯ
2.มีการดำเนินงานอย่างบูรณาการและมีส่วนร่วมในการพัฒนาสิทธิประโยชน์ที่เป็นภูมิปัญาของท้องถิ่นและสอดคล้องตามประกาศคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพกำหนด
3.มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์การดำเนินงานให้สอดคล้องตามสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
4.มีพื้นที่ต้นแบบที่มีผลงานป็นนวัตกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
5.เผยแพร่ผลงานและเกิดการขยายผลการดำเนินงานสุขภาพในชุมชนอื่น


>