กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการการดูแลสุขภาพมารดา ระยะตั้งครรภ์และหลังคลอดในชุมชน ปี2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิต

ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิต

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์(คน)

 

88.66
2 จำนวนโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ และหญิงตั้งครรภ์ระยะใกล้คลอด

 

10.63

ณ ปัจจุบันหญิงตั้งครรภ์มีภาวะเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคต่างๆในระหว่างการตั้งครรภ์และการคลอดทำให้เราต้องเตรียมตัวตั้งแต่เนิ่นๆเพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดมีความปลอดภัยและได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องแต่หากไม่ได้รับการดูแลที่ถูกต้อง ก็อาจจะทำให้พัฒนาทั้งด้านร่างกาย สติปัญญาและอารมณ์ไม่เป็นไปตามที่ควรจะได้รับการพัมนาอย่างต่อเนื่อง
จากผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส ในปี 2562 พบว่าอัตราการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ88.66 เกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ75 อัตราโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และหญิงตั้งครรภ์ระยะใกล้คลอดคิดเป็นร้อยละ 10.63เกณฑ์ร้อยละ10 และอัตราคลอดบุตรน้อยกว่า คิดเป็นร้อยละ2500กรัม คิดเป็นร้อยละ5.21เกณฑ์ร้อยละ 7 ซึ่งถือว่าอัตราที่เสี่ยงปานกลาง ปัญหาดังกล่าว สะท้อนให้เห็นถึงการมีภาวะเสี่ยงต่อหญิวตั้งครรภ์และบุตรและส่งผลให้ไม่ได้รับการวางแผนการป้องกันดูแลถึงวิธีการปฎิบัตตัวที่ถูกต้องโดยเฉพาะในรายที่มีภาวะเสี่ยงสูง
ดังนั้นรพ.สต.บูกิตได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการฝากครรภ์ จึงได้เห็นความสำคัญในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่ระยะเริ่มตั้งครรภ์จนถึงหลังคลอดบุตรให้ได้รับความปลอดภัยมีสุขภาพแข็งแรงทั้งมารดาและบุตรจึงได้จัดทำโครงการการดูแลสุขภาพมารดา ระยะตั้งครรภ์และหลังคลอดในชุมชน ปี2563

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์

1.ร้อยละ 75 หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์

88.66 100.00
2 2.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ไม่มีภาวะโลหิตจางในระยะใกล้คลอด

2.ไม่เกินร้อยละ 10 หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางในระยะใกล้คลอด

10.63 100.00
3 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ในการประเมินภาวะโภชนาการ

3.ร้อยละ 70 หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในการประเมินภาวะโภชนาการ

70.00 80.00
4 4.เพื่อให้มารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์

4.ร้อยละ 70 มารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์

70.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และตัวแทนอาสาสมัครสาธารณสุข

รายละเอียด

  • ค่าวิทยากร 600 บาท x 1 คน x 5 ชั่วโมง =3,000บาท

  • ค่าอาหารว่าง 25 บาท x 65 คน x 2 มื้อ =3,250บาท

  • ค่าออาหารกลางวัน 60 บาท x 65 คน x 1 มื้อ =3,900บาท

  • ค่าวัสดุสำนักงาน =4,360บาท

  • ค่าวัสดุ (ป้ายไวนิล) ขนาด 1.2 x 2 เมตร =600บาท

งบประมาณ 15,110บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1 ร้อยละ 75 หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
2.ไม่เกินร้อยละ 10 หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางในระยะใกล้คลอด
3.ร้อยละ 70 หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในการประเมินภาวะโภชนาการ
4.ร้อยละ 70 มารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15110.00

กิจกรรมที่ 2 2.นำกลุ่มเป้าหมายฝึกวิธีการประเมินกราฟภาวะโภชนาการจนเสร็จ

ชื่อกิจกรรม
2.นำกลุ่มเป้าหมายฝึกวิธีการประเมินกราฟภาวะโภชนาการจนเสร็จ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ไม่มีค่าใช้จ่าย

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

หญิงตั้งครรภ์ทุกรายมีความรู้ในการการประเมินภาวะโภชนาการ ร้อยละ70

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 ตรวจคัดกรองและติดตามเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ทุกราย

ชื่อกิจกรรม
ตรวจคัดกรองและติดตามเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ทุกราย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ไม่มีค่าใช้จ่าย

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางในระยะใกล้คลอด ไม่มากกว่า ร้อยละ10

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 -ติดตามเยี่ยมบ้านให้ความรู้ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด

ชื่อกิจกรรม
-ติดตามเยี่ยมบ้านให้ความรู้ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ไม่มีค่าใช้จ่าย

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 70

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,110.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ร้อยละ 75 หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
2.ไม่เกินร้อยละ 10 หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางในระยะใกล้คลอด
3.ร้อยละ 70 หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจในการประเมินภาวะโภชนาการ
4.ร้อยละ 70 มารดาและทารกได้รับการเยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์


>