กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชาวปิเหล็งสุขใจห่างไกลโรคเรื้อรัง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี

ชมรม อสม.บ้านปิเหล็ง หมู่ที่ ๗

๑. นางสิริพร ลพมรกตประธาน
๒. นางสาวบรรจงคงเพ็ชร รองประธาน
๓. นางปิ่น พาหา กรรมการ
๔. นางเพ็ญศรี สิงห์โต กรรมการ
๕. นางวิมล สุขสำราญ กรรมการ

ศาลาเอนกประสงค์บ้านปิเหล็ง หมู่ที่๗ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันนี้ปัญหาด้านสาธารณสุขมีปัญหามากขึ้นเกี่ยวกับโรคด้านสุขภาพ เช่น โรคความดัน โรคเบาหวาน ทำให้พี่น้องประชาชนความเจ็บป่วยทำให้เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้นทางชมรม อสม.แลเห็นความสำคัญปัญหาด้านสุขภาพ และลงสำรวจปัญหา พบว่า โรคความดันมีจำนวนผู้ป่วย 15 คนร้อยละ โรคเบาหวาน จำนวนผู้ป่วย4 คนร้อยละ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ร้อยละ70

40.00 45.00
2 เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยให้น้อยลง

ลดจำนวนผู้ป่วยให้น้อยลง ร้อยละ 50

19.00 50.00

เนื่องจากปัจจุบันนี้ปัญหาด้านสาธารณสุขมีปัญหามากขึ้นเกี่ยวกับโรคด้านสุขภาพ เช่น โรคความดัน โรคเบาหวาน ทำให้พี่น้องประชาชนความเจ็บป่วยทำให้เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้นทางชมรม อสม.แลเห็นความสำคัญปัญหาด้านสุขภาพ และลงสำรวจปัญหา พบว่า โรคความดันมีจำนวนผู้ป่วย 15 คนร้อยละ โรคเบาหวาน จำนวนผู้ป่วย4 คนร้อยละ

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2020

กำหนดเสร็จ 31/01/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ตรวจสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
ตรวจสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วัดความดันโลหิต ชั่งน้ำหนัก วัดรอบเอว เครื่องวัดความดันโลหิต จำนวน 3 เครื่องๆละ 2500 บาท เป็นเงิน7500 บาท เครื่องชั่งน้ำหนัก จำนวน 1 เครื่องเป็นเงิน 1200 บาท สายวัดจำนวน 3 เส้นๆละ 95 บาท เป็นเงิน 285 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8985.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับด้านสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับด้านสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คนจำนวน 4 ชั่วโมงๆละ600 บาท เป็นเงิน 2400 บาท ค่าอาหารกลางวัน 50 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 50 บาท เป็นเงิน 2500 บาท ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่ม 50 คน จำนวน2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2500 บาท ค่าป้ายไวนิล 1ผืน เป็นเงิน 720 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้นและสามารถนำไปปฎิบัติได้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7520.00

กิจกรรมที่ 3 เยี่ยมติดตามผู้ป่วย

ชื่อกิจกรรม
เยี่ยมติดตามผู้ป่วย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 16,505.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปปฎิบัติในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง


>