กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แนวทางดำเนินงาน/วิธีการสำคัญ

stars
แนวทางดำเนินงาน : การพัฒนาศักยภาพและทักษะบุคคล
label_important
วิธีการสำคัญ
- การพัฒนาทักษะการว่ายน้ำเพื่อลดการเสียชีวิตจากการจมน้ำแก่เด็กและเยาวชน
- การพัฒนาทักษะการดูแลส่งเสริมการกระตุ้นพัฒนาการเด็กร่วมกับผู้ปกครองตามประเภทของเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า
- การพัฒนาทักษะการดูแลรักษาฟันอย่างถูกวิธีร่วมกับผู้ปกครอง
- การให้ความรู้ความเข้าใจเรื่อง วัคซีนตามหลักศาสนา
stars
แนวทางดำเนินงาน : การจัดระบบริการแบบใหม่
label_important
วิธีการสำคัญ
- การคัดกรองพัฒนาการเด็กเชิงรุก
- การส่งเสริมและแก้ปัญหาทุพโภชนาการด้วยอาหารเสริมและการจัดอาหารที่ถูกหลักโภชนาการกับเด็ก
stars
แนวทางดำเนินงาน : การพัฒนาระบบและกลไกด้านการดูแลแม่และเด็ก
label_important
วิธีการสำคัญ
- อสม.เฝ้าระวังและติดตามเด็กและเยาวชนที่ไม่รับวัคซีนตามกำหนด
- การส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์แก่กลุ่มเยาวชนเพื่อเพิ่มภาวะความฉลาดทางอารมณ์(EQ)
- การจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชน
- การพัฒนาครอบครัวอบอุ่นต้นแบบ
stars
แนวทางดำเนินงาน : การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน
label_important
วิธีการสำคัญ
- การจัดทำข้อมูลสถานการณ์เด็กและเยาวชน
- การร่วมกับชุมชนในการจัดทำแผนสุขภาพและโครงการแก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชน
stars
แนวทางดำเนินงาน : การพัฒนานโยบายสาธารณะสำหรับเด็ก
label_important
วิธีการสำคัญ
- กำหนดกติกาหมู่บ้านหรือโรงเรียนเกี่ยวกับการจำหน่ายขนมขบเคี้ยว น้ำอัดลม เป็นต้น
- การกำหนดนโยบายหรือแผนงานสร้างเสริมคุณภาพชีวิตเด็ก
stars
แนวทางดำเนินงาน : การแก้ปัญหาเพือแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด
label_important
วิธีการสำคัญ
- ให้ความรู้และแนะนำการป้องกันโรคแก่ผู้ปกครองเด็กเล็ก และในศูนย์เด็กเล็ก
- ปรับสภาพแวดล้อมที่ลดปัญหาการระบาด เช่น การล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ การล้างมือบ่อยๆ ไม่ใช้แก้วน้ำดื่มร่วมกัน เป็นต้น
- ผู้ปกครองและเจ้าหน้าที่ปรับปรุงทำความสะอาดโรงเรียนเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กป้องกันการระบาด
stars
แนวทางดำเนินงาน : การพัฒนาศักยภาพและทักษะบุคคล และเจ้าหน้าที่
label_important
วิธีการสำคัญ
- การพัฒนาทักษะผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุติดบ้านและติดเตียง(ADL<11 คะแนน)
- การพัฒนาทักษะและเตรียมความพร้อมการก้าวสู่ “ผู้สูงอายุคุณภาพ”
- การนำศักยภาพผู้สูงอายุ เช่น การเล่านิทาน การปั้น การทำเครื่องเล่นพื้นบ้าน มาร่วมแก้ปัญหาสุขภาพกลุ่มเด็กและเยาวชน
stars
แนวทางดำเนินงาน : การจัดระบบริการแบบใหม่
label_important
วิธีการสำคัญ
- การพัฒนากิจกรรมและใช้หลักสูตรโรงเรียนผู้สูงอายุในมิติความร่วมมือชุมชนและศาสนา
- การปรับประยุกต์ใช้หลักสูตรด้านอาหารพื้นบ้านและแพทย์แผนไทยหรือประเพณีพื้นบ้าน การละเล่นพื้นบ้านเพื่อดูแลสุขภาพจิต อารมณ์ผู้สูงอายุ
- การจัดรูปแบบบริการเชิงรุกเพื่อคัดกรองภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรังในผู้สูงอายุ เช่น คัดกรองตาต้อกระจก การมองเห็น เป็นต้น
- การจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์เช่น การใช้ภูมิปัญญาชุมชน ประเพณี เป็นต้น แก่กลุ่มและชมรมผู้สูงอายุ หรือศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
- การจัดบริการสาธารณสุขดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงไม่จำกัดสิทธิของผู้สูงอายุ
- การจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ(Day care)
stars
แนวทางดำเนินงาน : การพัฒนาระบบและกลไกระบบดูแลผู้สูงอายุ
label_important
วิธีการสำคัญ
- การพัฒนาทักษะแกนนำ อสม.เพื่อดูแลหญิงตั้งครรภ์
- แกนนำ อสม.เฝ้าระวังสุขภาพและเยี่ยมดูแลผู้สูงอายุ
stars
แนวทางดำเนินงาน : การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน
label_important
วิธีการสำคัญ
- การจัดทำระบบข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชน
- การร่วมกับชุมชนในการจัดทำแผนสุขภาพและโครงการแก้ไขปัญหาผู้สูงอายุ
stars
แนวทางดำเนินงาน : การพัฒนานโยบายสาธารณะสำหรับผู้สูงอายุ
label_important
วิธีการสำคัญ
- การมีนโยบายของ อปท.เกี่ยวกับการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเป็นสังคมผู้สูงอายุ(ใช้งบกองทุนสุขภาพตำบลไม่ได้ แต่สามารถเสนอขอรับงบประมาณจากกองทุนฟื้นฟูคนพิการ)
- การมีนโยบายสร้างความมั่นคงด้านการออมทรัพย์ผ่านกองทุนผู้สุงอายุ ร่วมกับ อปท.เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
stars
แนวทางดำเนินงาน : การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล
label_important
วิธีการสำคัญ
1. การพัฒนาทักษะประชาชนในชุมชน ในการใช้ประโยชน์จากขยะอินทรีย์ เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ การทำอาหารสัตว์
2. การพัฒนาหลักสูตรในโรงเรียน กิจกรรมการเรียนที่สอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย 3R (ใช้น้อย ใช้ซ้ำ นำกลับมาใช้ใหม่)
3. การเสริมสร้างองค์ความรู้ เทคนิคทางวิชาการ เทคโนโลยีที่หลากหลาย ให้แก่บุคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้สามารถวางแผน จัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
4. การจัดทำสื่อ คลิป หนังสั้น เพื่อเผยแพร่ความรู้ ข้อมูลด้านขยะและการจัดการขยะอย่างถูกต้อง มีความชัดเจนและเข้าใจง่ายให้ประชาชนได้รับทราบ
5. ให้ความรู้และสร้างจิตสำนึกเรื่องหลีกเลี่ยงซื้ออาหารจานด่วน การซื้อสินค้าที่บรรจุภัณฑ์ใช้ครั้งเดียวทิ้ง หรือผลิตภัณฑ์ที่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
6. ให้ความรู้แม่ค้า ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารในการลดการใช้โฟม และเลือกใช้บรรจุภัณฑ์แทนโฟม ถุงพลาสติก
7. รณรงค์ สร้างแคมเปญใช้แก้วน้ำ ขวดน้ำ แทนแก้ว ขวดพลาสติก
8. การสร้างแกนนำบุคคล ครัวเรือน ต้นแบบในการลดขยะในชีวิตประจำวัน
9. ร่วมกับร้านค้าชุมชนในการลดบรรจุภัณฑ์ โดยการใช้บรรจุภัณฑ์ที่ลูกค้านำไปจากบ้าน เช่น ปิ่นโต กระเป๋า ถุงผ้า
10. การรณรงค์ สร้างจิตสำนึกเพื่อลดขยะที่ต้นทางในระดับครัวเรือน หน่วยงาน องค์กร
11. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชน ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ดำเนินการลดปริมาณขยะและคัดแยกขยะ ตามหลักการ 3Rs คือ ลดการใช้ (Reduce) ใช้ซ้ำ (Reuse) และนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เช่น การใช้ถุงผ้าแทนการใช้ถุงพลาสติก การใช้ภาชนะหรืออุปกรณ์ที่สามารถใช้ซ้ำในชีวิตประจำวัน เช่น กระบอกน้ำ ตะกร้า ปิ่นโต กล่องอาหารแบบพกพา การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ฯ
12. สร้างจิตสำนึกในการรับประทานอาหาร ไม่ให้เหลือทิ้งทั้งในครัวเรือน โรงเรียน
13. สร้างจิตสำนึกในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ลดการใช้กระดาษ
stars
แนวทางดำเนินงาน : การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการขยะในชุมชน
label_important
วิธีการสำคัญ
1. จัดกิจกรรมส่งเสริมการแยกขยะในครัวเรือน โรงเรียน สำนักงาน หน่วยงานภาครัฐ ศาสนสถาน
2. สนับสนุนให้เกิดการหมุนเวียนขยะที่ยังใช้ได้มาใช้ใหม่ เช่น การจัดตั้งศูนย์รับซื้อของเก่า ทั้งของท้องถิ่นและเอกชน เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่สามารถนำขยะประเภทที่หมุนเวียนมาใช้ใหม่ได้สะดวก
3. มีกลุ่ม/ศูนย์รับขยะ Recycle ในชุมชนของเอกชน
4. สร้างต้นแบบ เช่น ครัวเรือน โรงเรียน องค์กร หน่วยงาน ในการนำขยะหมุนเวียนมาใช้ใหม่ การนำขยะไปใช้ประโยชน์ เช่น ทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ
4. การส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากขยะอินทรีย์ เช่น การนำเศษอาหารหรือผักจัดทำปุ๋ยหมัก หรือการเพาะเลี้ยงไส้เดือนดิน เชื่อมโยงกับกลุ่มเกษตรกรเพาะปลูกอินทรีย์
5. ประกวดนวัตกรรมการ recycle ในชุมชน
6. สนับสนุนการสร้างผลิตภัณฑ์ชุมชนจากขยะ เช่น การสร้างรองเท้าจากยางรถยนต์
7. จัดให้มีศูนย์รับซ่อมอุปกรณ์ เครื่องใช้ในชุมชน
8. จัดกิจกรรมสร้างแรงจูงใจด้านราคา เช่น โครงการใช้ถุงผ้า ปิ่นโต แก้ว ได้ราคาพิเศษ กิจกรรมหนึ่งแผงหนึ่งร้านหนึ่งถุงขยะอินทรีย์
9. มีศูนย์หรือกิจกรรมการบริจาคสิ่งของที่ยังสามารถใช้งานได้ ส่งต่อให้กลุ่มเป้าหมายอื่น เช่น เสื้อผ้า หนังสือ รถจักรยาน ฯ
10. จัดตั้งศูนย์การแลกเปลี่ยนของใช้ ศูนย์บริจาคของใช้
11. ทอดผ้าป่าขยะในชุมชน
12. จัดตั้งธนาคารขยะ/กองทุนขยะรีไซเคิล ตลาดนัดรีไซเคิล
13. สนับสนุนให้มีมาตรการจูงใจเพื่อให้มีการจัดการขยะที่ดี เช่น ให้มีรางวัลการจัดการขยะที่ดี และการใช้กลไกราคาเพื่อการคัดแยกขยะและจัดการขยะอย่างมีคุณภาพ
14. มีจุดรับขยะอันตรายในชุมชน
stars
แนวทางดำเนินงาน : การปรับระบบ กลไก
label_important
วิธีการสำคัญ
1. การจัดตั้งเครือข่าย “อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก” เพื่อส่งเสริมการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย
2. การจัดให้มีกลไกอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อมระดับหมู่บ้าน เป็นแกนนำต้นแบบในการจัดการขยะครบวงจร
3. การจัดให้มีกลไกสถานศึกษาโดยการผลักดันให้สถาบันการศึกษาทุกแห่ง มีส่วนร่วมในการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่นด้านการจัดการขยะอันตราย
4. การจัดให้มีกลไกตาวิเศษ ที่มีหน้าที่ในการติดตามตรวจสอบเฝ้าระวังจุดเสี่ยงต่อการทิ้งขยะสะสมในชุมชน เช่น ที่รกร้างว่างเปล่า ที่ลับตาผู้คน ที่ดินซึ่งมีการนำสิ่งของมาทิ้งประจำ
stars
แนวทางดำเนินงาน : การเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน
label_important
วิธีการสำคัญ
1. การส่งเสริมในกลุ่มคนในชุมชนสามารถจัดการข้อมูลเพื่อการจัดการขยะชุมชน โดยการสำรวจปริมาณขยะ และวิเคราะห์องค์ประกอบของขยะ โดยทีมอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อมประจำหมู่บ้าน ทีม อสม. แกนนำเยาวชน ฯลฯ
2. ชุมชนสามารถจัดทำแผนชุมชนด้านการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม ตั้งแต่การจัดทำข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดเวทีคืนข้อมูล จัดทำแผนแก้ปัญหา กำหนดแผนงาน โครงการร่วมกัน ปฏิบัติร่วมกัน และร่วมติดตามประเมินผล
stars
แนวทางดำเนินงาน : การพัฒนานโยบายสาธารณะด้านการจัดการขยะในชุมชน
label_important
วิธีการสำคัญ
1. การทำให้เกิดธรรมนูญสุขภาพ เรื่องการจัดการขยะชุมชน
2. การกำหนดกฎ มาตรการ กติกา หรือข้อตกลงร่วมเรื่องการจัดการขยะของชุมชน เช่น การคัดแยกขยะ การใช้ถุงผ้าหรือตะกร้าจ่ายตลาด การส่งเสริมการใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะร้านอาหารและร้านค้าในชุมชน
3. การกำหนดมาตรการ ข้อตกลงร่วม กฏ กติกา ธรรมนูญของชุมชนในการส่งเสริมการทำเกษตรอินทรีย์ เพื่อเพิ่มการใช้ปุ๋ยหมัก ลดการใช้สารเคมี ซึ่งจะส่งผลถึงการใช้ประโยชน์ขยะอินทรีย์ ลดบรรจุภัณฑ์สารเคมีซึ่งเป็นขยะอันตราย
4. การบังคับใช้กฏหมาย ข้อบัญญัติท้องถิ่นด้านการจัดการขยะตามที่กำหนดไว้
stars
แนวทางดำเนินงาน : การแก้ปัญหาสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม
label_important
วิธีการสำคัญ
- แกนนำสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ ลงสำรวจประชาชนที่ได้รับผลกระทบและแนะนำการป้องกันโรค
- สนับสนุนเวชภัณฑ์และอุปกรณ์สำหรับการป้องกันโรค
- แกนนำสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ลงเยี่ยมติดตามและประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
- การปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการไม่เป็นโรคติดต่อที่มาจากภาวะน้ำท่วม
stars
แนวทางดำเนินงาน : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้มาลาเรียระบาด
label_important
วิธีการสำคัญ
- แกนนำสาธารณสุข(อสม.) เยาวชน และเจ้าหน้าที่ ลงสำรวจทำลายลูกน้ำยุงก้นปล่อง (หยอดทรายอะเบต,ปล่อยปลาหางนกยูง คว่ำภาชนะที่มีน้ำขัง) สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
- การปรับสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงต่อการเพาะพันธุ์ยุงก้นปล่อง เช่น ขยะ หรือมีการสะสมของภาชนะน้ำขังจำนวนมาก โดย แกนนำสาธารณสุข(อสม.) เยาวชน
- จ้างเหมาพ่นยุงครัวเรือนที่มีผู้ป่วยรัศมี 100 เมตร พ่น 2 ครั้งห่างกัน 1 สัปดาห์
- การตรวจคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่สงสัยมีเชื้อมาลาเรียด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น และนำเข้าสู่ระบบการรักษาของโรงพยาบาล
- การรณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อให้เกิดความตระหนักของประชาชนผ่านป้ายไวนิลและสื่อต่างๆ
stars
แนวทางดำเนินงาน : การแก้ปัญหาสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากหมอกควันไฟใหม้ป่า
label_important
วิธีการสำคัญ
- แกนนำสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่ ลงสำรวจประชาชนที่ได้รับผลกระทบและแนะนำการป้องกันโรค
- สนับสนุนหน้ากากอนามัยเพื่อบรรเทาผลกระทบต่อทางเดินหายใจ
stars
แนวทางดำเนินงาน : การแก้ปัญหาเพือแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด
label_important
วิธีการสำคัญ
- ให้ความรู้และแนะนำการป้องกันโรคแก่ผู้ปกครองเด็กเล็ก และในศูนย์เด็กเล็ก
- ปรับสภาพแวดล้อมที่ลดปัญหาการระบาด เช่น การล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ การล้างมือบ่อยๆ ไม่ใช้แก้วน้ำดื่มร่วมกัน เป็นต้น
- ผู้ปกครองและเจ้าหน้าที่ปรับปรุงทำความสะอาดโรงเรียนเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กป้องกันการระบาด
stars
แนวทางดำเนินงาน : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
label_important
วิธีการสำคัญ
- แกนนำสาธารณสุข(อสม.) เยาวชน และเจ้าหน้าที่ ลงสำรวจทำลายลูกน้ำยุงลาย (หยอดทรายอะเบต,ปล่อยปลาหางนกยูง คว่ำภาชนะที่มีน้ำขัง) สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
- การปรับสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงต่อการเพาะพันธุ์ยุงลาย เช่น ขยะ หรือมีการสะสมของภาชนะน้ำขังจำนวนมาก โดย แกนนำสาธารณสุข(อสม.) เยาวชน
- จ้างเหมาพ่นยุงครัวเรือนที่มีผู้ป่วยรัศมี 100 เมตร พ่น 2 ครั้งห่างกัน 1 สัปดาห์
- การรณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อให้เกิดความตระหนัก
stars
แนวทางดำเนินงาน : แก้ปัญหาการมีพฤติกรรมเสี่ยง เพศสัมพันธ์
label_important
วิธีการสำคัญ
1. ให้ความรู้ด้านเพศศึกษาและทักษะชีวิต แก่กลุ่มเด็กเยาวชน ผู้ปกครองและกลุ่มที่มีความเสี่ยง
2. กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน สร้างแกนนำ/เครือข่าย
3. สร้างพื้นที่ทำกิจกรรมด้านสร้างสรรค์ผ่านกิจกรรมศิลปะ กีฬา เป็นต้น
4. การทำสื่อ ประชาสัมพันธ์
5. คลินิคแก้ปัญหาครอบครัว ช่วยให้แนวทางดำเนินชีวิต, กลไกการให้คำปรึกษา
6. ส่งเสริมการใช้หลักศาสนา ในการดำเนิชีวิต
stars
แนวทางดำเนินงาน : แก้ปัญหาเยาวชนที่มีเสี่ยงต่อการเป็นนักสูบหน้าใหม่ และมีภาวะเสี่ยงต่อสารเสพติด เช่น กระท่อม เฮโรอีน ยาบ้า เป็นต้น
label_important
วิธีการสำคัญ
1. จัดตั้งทีมเฝ้าระวัง สำรวจและค้นหากลุ่มเสี่ยงหรือพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุมของเด็กและเยาวชนในชุมชน
2. จัดทีมอาสาสมัครเพื่อการคัดกรอง (กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสูบ) และการบำบัดอย่างย่อในชุมชน
3. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการสร้างสมรรถนะแห่งตน/ทักษะชีวิตในการหลีกเลี่ยงสิ่งยั่วยุ /ทักษะการจัดการความเครียดและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
4. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเห็นคุณค่าแห่งตน/การใช้เวลาว่าง/การสร้างประโยชน์ให้กับชุมชน
5. การค้นหาและทำฐานข้อมูลของผู้สูบในชุมชนที่ต้องการเลิก หรือ พยายามเลิกแล้วไม่สำเร็จ
6. การดำเนินงานเชิงรุก เช่น การจัดตั้งหน่วยบริการช่วยเลิกตระเวนบริการในชุมชน
7. การพัฒนาศักยภาพทีมผู้รับผิดชอบงานด้านการติดตามเยี่ยมเยียนผู้มารับบริการเลิกยาสูบให้สามารถเลิกได้สำเร็จ
8. การจัดบริการส่งต่อผู้สูบที่ไม่สามารถบำบัดได้ในชุมชนไปยังหน่วยบริการสุขภาพในพื้นที่
stars
แนวทางดำเนินงาน : ลดการใช้ยาปฏิชีวนะ(ยาฆ่าเชื้อ)
label_important
วิธีการสำคัญ
1. การสร้างความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพจากโรคหวัด
2. แกนนำอาสาสมัครด้านรู้เท่าทัน อ่านฉลากยาเป็น
3. การใช้สมุนไพรทดแทนการใช้ยาปฏิชีวนะ(ยาฆ่าเชื้อ)
4. ร้านชำสีขาว คุ้มครองผู้บริโภค
stars
แนวทางดำเนินงาน : ส่งเสริมให้เยาวชนชายมุสลิมขลิบปลายหุ้มหนังอวัยวะเพศ ถูกต้องตามหลักการแพทย์
label_important
วิธีการสำคัญ
การจัดบริการขลิบปลายหุ้มหนังอวัยวะเพศ ถูกต้องตามหลักการแพทย์
stars
แนวทางดำเนินงาน : ลดปัญหาสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย
label_important
วิธีการสำคัญ
1. การตรวจดูสารพิษตกค้างในกระแสเลือด
2. การแนะนำวิธีป้องกันสารเคมีทางการเกษตรและการใช้สารจากธรรมชาติทดแทนสารเคมี
3. การตั้งและดำเนินกิจกรรมกลุ่มเกษตรกรผักปลอดสารพิษ
4. การตรวจเฝ้าระวังสารพิษตกค้างในผัก โดยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข/ชมรม อย.น้อย
5. ประกาศหมู่บ้านปลอดการใช้สารเคมีทางการเกษตร
6. การพัฒนาศักยภาพผู้บริโภคให้สามารถลดหรือเลี่ยงผักที่มีสารเคมีตกค้างทางการเกษตร
7. การปลูกผักปลอดสารพิษในเขตที่อยู่อาศัย
stars
แนวทางดำเนินงาน : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
label_important
วิธีการสำคัญ
- แกนนำสาธารณสุข(อสม.) เยาวชน และเจ้าหน้าที่ ลงสำรวจทำลายลูกน้ำยุงลาย (หยอดทรายอะเบต,ปล่อยปลาหางนกยูง คว่ำภาชนะที่มีน้ำขัง) สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
- การปรับสภาพแวดล้อมจุดเสี่ยงต่อการเพาะพันธุ์ยุงลาย เช่น ขยะ หรือมีการสะสมของภาชนะน้ำขังจำนวนมาก โดย แกนนำสาธารณสุข(อสม.) เยาวชน
- จ้างเหมาพ่นยุงครัวเรือนที่มีผู้ป่วยรัศมี 100 เมตร พ่น 2 ครั้งห่างกัน 1 สัปดาห์
- การรณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อให้เกิดความตระหนัก
stars
แนวทางดำเนินงาน : การปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพ
label_important
วิธีการสำคัญ
1. การคัดกรองโรคเรื้อรังแบบเชิงรุกในชุมชนหรือส่งเสริมการมารับบริการคัดกรองของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
2. การใช้ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาโรคเรื้อรัง
stars
แนวทางดำเนินงาน : การพัฒนาทักษะส่วนบุคคลและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
label_important
วิธีการสำคัญ
1. การพัฒนาทักษะการดูแลสุขภาพ การบริโภคที่ถูกต้อง
2. การพัฒนาทักษะการดูแลสุขภาพลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรังเบาหวาน จอประสาทตาเสื่อม ไตวาย แผล เป็นต้น
stars
แนวทางดำเนินงาน : การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ
label_important
วิธีการสำคัญ
1. การส่งเสริมการเคลื่อนไหวทางกายลดโรคเรื้อรัง เช่น การออกกำลังกาย การใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน
2. กิจกรรมตลาดอาหารปลอดภัย
3. โรงเรียนหรือศูนย์พฒนาเด็กเล็กปลอดหวาน หรือขนบกรุบกรอบ
4. หมู่บ้านปลอดน้ำหวาน น้ำอัดลม
stars
แนวทางดำเนินงาน : การสร้างระบบกลไก
label_important
วิธีการสำคัญ
การสร้างแกนนำต้นแบบด้านเสร้างเสริมสุขภาพ
stars
แนวทางดำเนินงาน : การสร้างกติกาหรือนโยบายสาธารณะชุมชน
label_important
วิธีการสำคัญ
1. การกำหนดกติกาชุมชน หรือหมู่บ้านต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
2. จำนวนโครงการและงบประมาณที่กองทุนสุขภาพตำบล
stars
แนวทางดำเนินงาน : การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการระบบอาหารในชุมชน
label_important
วิธีการสำคัญ
• การเพิ่มที่ผลิตอาหารในบ้าน โรงเรียน หรือสถานที่สาธารณะในชุมชน
• การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการเพิ่มพื้นที่อาหารปลอดภัยในระดับครัวเรือน /ชุมชน หน่วยงานเช่นโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
• การเพิ่มพื้นที่เกษตรอินทรีย์หรือเกษตรปลอดภัยในชุมชน
• การปรับงานอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินงานอาหารปลอดภัยและสุขาภิบาลอาหาร
• การใช้บริบท วัฒนธรรม ภูมิปัญญาทางด้านอาหาร เพื่อการจัดการระบบอาหารในชุมชน
• การทำระบบกระจาย หรือเชื่อมโยงผลผลิต (matching model) โดยการเชื่อมโยงอาหารจากผู้ผลิตไปยังหน่วยงานเช่น โรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก ร้านอาหาร หรือผู้บริโภค

วิธีการ

1. การส่งเสริมให้สมาชิกในชุมชนปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ หรือการส่งเสริมการทำสวนผักในเมืองในพื้นที่ๆ เป็นชุมชนเมือง เพื่อเพิ่มการเข้าถึงอาหารปลอดภัยแก้ปัญหาอาหารโภชนาการและอาหารปลอดภัย
2. ส่งเสริมการทำเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน ในโรงเรียนเพื่อแก้ปัญหาการขาดอาหาร เช่นการปลูกผัก นาข้าว การเลี้ยงไก่ไข่ เลี้ยงปลา ฯลฯ
3. ส่งเสริมการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรอินทรีย์มาใช้ในระบบอาหารของครัวเรือน ชุมชน
4. การใช้เมนูอาหารที่เหมาะสมกับทุกช่วงวัยในศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียน และชุมชน
5. การปรับปรุงสุขาภิบาลอาหารในโรงครัว โรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก/ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารในพื้นที่
6. การพัฒนาตลาด (ตลาดปลอดภัย/ตลาดสีเขียว/ตลาดอินทรีย์/ตลาดน่าซื้อ ตลดออนไลน์ ฯลฯ ของชุมชน)
7. การส่งเสริมการบริโภคโดยใช้เมนูอาหารพื้นบ้าน เมนูอาหารเป็นยา เมนูชูสุขภาพ ผักสมุนไพรเพื่อสุขภาพ เพื่อการส่งเสริมป้องกันโรค
stars
แนวทางดำเนินงาน : การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล
label_important
วิธีการสำคัญ
• การพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชน ให้มีความรู้ ทักษะ ความสามารถในการจัดการอาหารในชุมชน
• การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคตามกลุ่มวัย (วัยเด็ก/วัยเรียน.วันทำงาน/วัยสูงอายุ)

วิธีการ

1. การพัฒนาศักยภาพครู ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก ด้านอาหารในโรงเรียนและชุมชน เช่นการอบรมโปรแกรม Menu Thai School Lunch
2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคในกลุ่มเป้าหมายที่มีปัญหาเช่น เด็ก/ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/ผู้สูงอายุ ฯลฯ เช่น การส่งเสริมการบริโภค ผัก ผลไม้
3. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคในครัวเรือน /โรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก และชุมชน เช่น ลด หวาน มัน เค็ม ลดการบริโภคน้ำหวานน้ำอัดลม
4. การฝึกทักษะการปรุง การใช้ตำรับอาหารพื้นบ้านที่เป็นยา อาหารเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ
5. การสร้างบุคคล ครัวเรือน ต้นแบบ (Role model)
6. การส่งเสริมความรอบรู้เรื่องสุขภาพ (Health literacy) ความรอบรู้เรื่องอาหาร (food literacy)
stars
แนวทางดำเนินงาน : การปรับระบบ กลไก
label_important
วิธีการสำคัญ
• การพัฒนาระบบเฝ้าระวังเรื่องการจัดการอาหารในชุมชน
• การพัฒนาระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร
• การจัดตั้งชมรม กลุ่ม เครือข่ายต่างๆ ในชุมชนเพื่อการจัดการอาหาร
• การใช้กลไกคณะกรรมการอาหารปลอดภัยระดับจังหวัดในการดำเนินงานอาหารปลอดภัย

วิธีการ

1. การพัฒนาระบบการจัดการข้อมูลภาวะโภชนาการในศูนย์เด็กเล็กและในโรงเรียน
2. การใช้โปรแกรม Menu Thai School Lunch เพื่อจัดการอาหารในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียน
3. การติดตามภาวะโภชนาการของคนในชุมชน โดยเฉพาะ กลุ่มเด็กและผู้สูงอายุ
4. การสนับสนุนชมรม กลุ่ม เครือข่ายต่างๆ ในชุมชนเพื่อการจัดการอาหาร เช่น กลุ่มเกษตรกรปลอดสารพิษ.เกษตรอินทรีย์ กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเครื่องแกง กลุ่มสัจจะออมทรัพย์ ฯลฯ
stars
แนวทางดำเนินงาน : การเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน
label_important
วิธีการสำคัญ
• ชุมชนสามารถจัดการข้อมูลอาหารและโภชนาการได้
• ชุมชนสามารถจัดทำแผนชุมชนด้านระบบอาหารแบบมีส่วนร่วม ตั้งแต่การจัดทำข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดเวทีคืนข้อมูล กำหนดแผนงาน โครงการร่วมกัน ปฏิบัติร่วมกัน และร่วมติดตามประเมินผล

วิธีการ

1. พัฒนาแกนนำและผู้ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเก็บข้อมูล การจัดทำข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดเวทีคืนข้อมูล
2. การทำแผนชุมชน การทำแผนท้องถิ่น การจัดทำโครงการหรือกิจกรรมร่วมกับชุมชน
3. สนับสนุนให้ชุมชนที่ส่วนร่วมในการทำกิจกรรมเพื่อการมีและเข้าถึงอาหาร ทำให้มีอาหารปลอดภัยบริโภค และบริโภคที่ถูกต้อง มีโภชนาการที่สมวัย
stars
แนวทางดำเนินงาน : การพัฒนานโยบายสาธารณะด้านอาหารในชุมชน
label_important
วิธีการสำคัญ
• เกิดธรรมนูญสุขภาพ เรื่องระบบอาหาร
• เกิดกติกาหรือข้อตกลงร่วมเรื่องระบบอาหาร
• เกิดมาตรการของชุมชนและท้องถิ่นเรื่องระบบอาหาร

วิธีการ

1. การกำหนดนโยบายชุมชนเรื่องการไม่ขายเครื่องดื่มน้ำหวาน ขนมขบเคี้ยวในบริเวณ ใกล้หรือในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียน
2. นโยบายชุมชนปลอดน้ำอัดลม เหล้า สุรา ในงานเลี้ยง งานบุญ งานประเพณี
3. ข้อตกลงชุมชนให้คนในชุมชนปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานเองในครัวเรือน
4. การกำหนดมาตรการ ข้อตกลงร่วม กฏ กติกาของชุมชน ในการลดการใช้สารเคมีในภาคเกษตร
5. การกำหนดมาตรการ ข้อตกลงร่วม กฏ กติกาของชุมชน ในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ ที่เป็นแหล่งอาหารของชุมชน
6. นโยบายบายการนำอาหารสุขภาพไปถวายพระ (ปิ่นโตเพื่อสุขภาพ)
7. การส่งเสริมให้เกิดธรรมนูญลุ่มน้ำ ธรรมนูญป่าชุมชน เพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
stars
แนวทางดำเนินงาน : ยุทธศาสตร์ที่ 1 มุ่งเป้าลดการเสียชีวิตและบาดเจ็บสาหัสของผู้ใช้รถใช้ถนน
label_important
วิธีการสำคัญ
1. ลดพฤติกรรมเสี่ยงของผู้ใช้รถใช้ถนนทุกกลุ่ม (เมา หมวกนิรภัย เข็มขัดนิรภัย เบาะนิรภัยเด็ก มือถือ วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทอื่น ไม่มีใบขับขี่ ขับเร็ว หลับใน) ด้วยการเพิ่มจำนวนด่าน และให้ความรู้
1.1 เพิ่มการตรวจจับหรือจุดตั้งด่านตรวจจับผู้ใช้รถใช้ถนนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุทางถนน (เช่น ดื่มแล้วขับ ใช้วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทอื่น ไม่สวมหมวกนิรภัย ไม่คาดเข็มขัดนิรภัย ไม่ใช้เบาะนิรภัยสาหรับเด็กและที่นั่งพิเศษสาหรับเด็ก ใช้โทรศัพท์ขณะขับขี่ ไม่มีใบอนุญาตขับขี่ ขับเร็ว หลับใน)
1.2 กำกับดูแลผู้ขับขี่รถสาธารณะให้มีความพร้อมทางสภาพร่างกายก่อนและระหว่างการขับขี่
stars
แนวทางดำเนินงาน : ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับมาตรฐานด้านความปลอดภัยของยานพาหนะ
label_important
วิธีการสำคัญ
1. จักรยานยนต์ปลอดภัย ด้วยการติดตั้ง ABS ตรวจสอบมาตรฐานหมวกนิรภัย และให้ความรู้การใช้รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย
1.1 ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับมาตรฐานรถจักรยานยนต์ รวมถึงการเลือกซื้อและการใช้รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย
stars
แนวทางดำเนินงาน : ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยและการเดินทางที่ยั่งยืน
label_important
วิธีการสำคัญ
1. ถนนปลอดภัย
1.1 เพิ่มมาตรการชะลอความเร็วในพื้นที่ถนนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1.2 ตรวจประเมินถนน ดำเนินมาตรการเชิงแก้ไข (Road side hazard) โดยปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพในจุดที่เคยเกิดอุบัติเหตุซึ่งเป็นพื้นที่ถนนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2. เพิ่มการเดินทางที่ยั่งยืน
2.1 ส่งเสริมการใช้ระบบขนส่งสาธารณะเพื่อลดการใช้ยานพาหนะส่วนบุคคล
stars
แนวทางดำเนินงาน : ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนารากฐานโครงสร้างการทำงาน
label_important
วิธีการสำคัญ
1. พัฒนาการตอบสนองหลังเกิดอุบัติเหตุมีประสิทธิภาพและครอบคลุม
1.1 เพิ่มความครอบคลุมของการทำประกันภัยภาคบังคับตามพ.ร.บ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
1.2 ลดเวลาตอบสนองหลังเกิดเหตุ (response time) ด้วยเบอร์ฉุกเฉิน
1.3 เพิ่มความครอบคลุมของระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินก่อนถึงโรงพยาบาลในทุกตำบล
1.4 กำหนดแนวปฏิบัติที่ดีในสถานการณ์ฉุกเฉินทางถนนสำหรับผู้ขับรถสาธารณะ
2. เพิ่มกระบวนการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในการทำงานด้านความปลอดภัยทางถนนแบบสหสาขา
2.1 มีการจัดประชุม ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ศปถ.อปท.) ในลักษณะการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำงาน ไตรมาสละ 1 ครั้ง
2.2 มีการพัฒนาศักยภาพบุคลากรท้องถิ่นที่ทำหน้าที่ด้านความปลอดภัยทางถนน
stars
แนวทางดำเนินงาน : การพัฒนาศักยภาพและทักษะบุคคล และเจ้าหน้าที่
label_important
วิธีการสำคัญ
1.1 การพัฒนาทักษะการปฏิบัติตนของหญิงตั้งครรภ์ เช่น การตั้งคลินิกนมแม่
1.2 การสร้างคุณแม่ต้นแบบด้านการดูแลตนเองและลูกน้อย
stars
แนวทางดำเนินงาน : การจัดระบบริการแบบใหม่
label_important
วิธีการสำคัญ
- การพัฒนาและใช้หลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ในมิติความร่วมมือชุมชนและศาสนา
- การปรับประยุกต์ใช้หลักสูตรด้านอาหารพื้นบ้านและแพทย์แผนไทยเพื่อดูแลหญิงตั้งครรภ์
- การจัดรูปแบบบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเชิงรุก
stars
แนวทางดำเนินงาน : การพัฒนาระบบและกลไกด้านการดูแลแม่และเด็ก
label_important
วิธีการสำคัญ
- การพัฒนาทักษะแกนนำ อสม.เพื่อดูแลหญิงตั้งครรภ์
- อสม.เฝ้าระวังและติดตามแม่ฝากครรภ์ไม่ครบ
- อสม.ลงแนะนำการตรวจมะเร็งเต้านมเบื้องต้น
stars
แนวทางดำเนินงาน : การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน
label_important
วิธีการสำคัญ
- การจัดทำข้อมูลสถานการณ์เกี่ยวกับหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธุ์โดยการขึ้นทะเบียน
- การร่วมกับชุมชนในการจัดทำแผนสุขภาพและโครงการแก้ไขปัญหาหญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธุ์
stars
แนวทางดำเนินงาน : การพัฒนานโยบายสาธารณะสำหรับแม่และเด็ก
label_important
วิธีการสำคัญ
- การมีนโยบายของ อปท.เกี่ยวกับการส่งเสริมการฝากครรภ์และเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
- การมีนโยบายของโรงเรียนร่วมกับ อปท.เกี่ยวกับการส่งเสริมการเป็นหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีคุณภาพ