กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 ตำบลปุโละปุโย

1.นางสาวนูรีดา ลาเตะ
2.นางสาวรอปีหยะ จูอะ
3. นางสีตีอาแวดอเลาะ
4. นางสาวอัมเสาะ สะมะแอ
5.นางสาวคอลีเยาะ สามะ

หมู่ที่ 8 ตำบลปุโละปุโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง

 

50.00

โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และถือว่าเป็น "ภัยเงียบ" เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างกายเช่น ตา ไต หลอดเลือด ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง และยาวนานมีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 ตำบลปุโละปุโย ดำเนินงานเน้นนโยบายเชิงรุก เร่งการป้องกันโรค ที่เกิดจากพฤติกรรมของประชาชน จะประสบความสำเร็จมีประสิทธิภาพและเกิดความต่อเนื่องยั่งยืน จำเป็นอย่างยิ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทุกส่วน และใช้กระบวนการที่บูรณาการเชื่อมโยงการดำเนินงาน โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคที่เป็นปัญหาที่สำคัญในพื้นที่ และเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 ตำบลปุโละปุโย จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ปี 2563ขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงตามมาตรฐาน พร้อมทั้งรณรงค์ สร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพมีพฤติกรรมที่ดี และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการการเกิดโรคเรื้อรัง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรอง โรคความดันโลหิตและโรคเบาหวาน

ประชาชนได้รับการคัดกรองความดันและเบาหวาน
ร้อยละ 100 คน

50.00 1.00
2 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 30.2

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามหลัก 30.2 ส ร้อยละ 100คน

30.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรม อบรมให้ความรู้โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน และตรวจสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรม อบรมให้ความรู้โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน และตรวจสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวิทยากร ชม.ละ 600 บ. x 1 คนx 6 ชม. = 3,600  บ. ค่าอาหารกลางวัน 50บ.x 50 คน
=  2,500 บ. ค่าอาหารว่าง 25 บ.x 50 คน x 2 มื้อ =  2,500 บ. ค่าวัสดุอื่นๆ     =    680  บ. ค่าไวนิล ขนาด 1.2x3 ม. =  720 บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ติดตามกลุ่มเสี่ยงเพื่อรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  2. ส่งต่อเป็นรายบุคคลผลการตรวจที่ผิดปกติ
  3. ติดตามผลการรักษาภายหลังการส่งต่อ
  4. สรุปและประเมินโครงการเมื่อสิ้นสุดโครงการ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :
ค่าใช้จ่ายสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ติดตามกลุ่มเสี่ยงเพื่อรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
2. ส่งต่อเป็นรายบุคคลผลการตรวจที่ผิดปกติ
3. ติดตามผลการรักษาภายหลังการส่งต่อ
4. สรุปและประเมินโครงการเมื่อสิ้นสุดโครงการ


>