กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการตรวจคัดกรอง-วินิจฉัย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เบาหวานความดัน กลุ่มโรคเรื้อรังและประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด รพ.สต.นาคำ

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาคำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการตรวจคัดกรอง-วินิจฉัย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เบาหวานความดัน กลุ่มโรคเรื้อรังและประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด รพ.สต.นาคำ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาคำ

รพ.สต.นาคำ

นางโสภิดา พลไชย
นางจงจิต สร้อยจักร
นางวงเดือน วงษ์อนันต์

รพ.สต.นาคำ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

20.48
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

55.48
3 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

 

20.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

20.48 18.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

55.48 40.00
3 เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น  เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

20.00 15.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 300
กลุ่มผู้สูงอายุ 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 270
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ตรวจสุขภาพและบันทึกข้อมูลสุขภาพเพื่อเทียบการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพก่อน-หลัง

ชื่อกิจกรรม
ตรวจสุขภาพและบันทึกข้อมูลสุขภาพเพื่อเทียบการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพก่อน-หลัง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ตรวจคัดกรองสุขภาพให้กับประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป 2.คัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพทุกคน และผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า และประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4000.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อการป้องกันโรคเบาหวาน - ความดัน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อการป้องกันโรคเบาหวาน - ความดัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงและในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ดีขึ้น ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันและลดโอกาสเกิดโรคแทรกซ้อนตามมา

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เกิดการขยายองค์ความรู้ หมู่บ้านต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพขึ้นในชุมชน
2.ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประชาชน บุคลากรสาธารณสุข และ อสม. ได้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพ และสามารถนำมาปรับใช้กับตนเอง


>