กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการสร้างสายสัมพันธ์ร่วมฝ่าฟันยาเสพติดในสถานศึกษา ตำบลบ้านซ่อง อำเภอพนมสาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านซ่อง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสร้างสายสัมพันธ์ร่วมฝ่าฟันยาเสพติดในสถานศึกษา ตำบลบ้านซ่อง อำเภอพนมสาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านซ่อง

รพ.สต.บ้านหนองหว้า

โรงเรียนวัดธารพูด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานยาสูบ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและเยาวชน(อายุไม่เกิน 25 ปี) ที่สูบบุหรี่

 

20.00
2 ร้อยละของผู้ใหญ่(อายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป) ที่สูบบุหรี่

 

30.00
3 จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี (คน)

 

10.00
4 จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ที่เป็นสตรี(คน)

 

10.00
5 ร้อยละของผู้ได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน

 

40.00
6 ร้อยละของผู้ที่ได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะ

 

20.00
7 ร้อยละของผู้เลิกบุหรี่ได้สำเร็จ (เลิกติดต่อกันนานเกิน 6 เดือน โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ)

 

1.00
8 ปริมาณการสูบบุหรี่ (เฉลี่ยต่อคนต่อวัน) ของผู้สูบบุหรี่อายุ 15 ปีขึ้นไป (มวน)

 

20.00
9 ค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่เฉลี่ยต่อเดือนของผู้สูบบุหรี่รายคน(บาท)

 

3,000.00
10 จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย (ร้าน)

 

132.00
11 ยอดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบทั้งหมดเฉลี่ยต่อเดือนของร้านค้า (บาท)

 

10,000.00
12 จำนวนกิจกรรมและนวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการควบคุมยาสูบ (จำนวนกิจกรรม/นวัฒกรรม)

 

0.00
13 มาตรการของชุมชนที่ประกาศใช้เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ(จำนวนมาตรการ)

 

2.00
14 งบประมาณต่อปีที่ใช้ไปในการจัดการควบคุมยาสูบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(บาท)

 

50,000.00

ในสังคมปัจจุบันปัญหายาเสพติดถือได้ว่าเป็นปัญหาที่ส าคัญและเป็นปัญหาที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น
เรื่อยๆ เนื่องจากสภาพสังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากทั้งในส่วนของครอบครัว ที่บิดามารดาต้องรับภาระ
ค่าใช้จ่ายมากขึ้นจึงต้องท างานมากขึ้นและไม่ค่อยมีเวลาให้กับลูกจึงท าให้เขาขาดความอบอุ่นและมุ่งแสวงหา
สังคมใหม่ให้กับตนเองโดยมีเพื่อนเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก ยาเสพติดเป็นสิ่งที่ส่งผลท าให้เยาวชนของไทยที่หลง
ผิดกลายเป็นบุคคลที่เสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากความบกพร่องทางด้านร่างกายที่ไม่แข็งแรง ความบกพร่อง
ทางด้านจิตใจซึ่งไม่สามารถที่จะควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ ความบกพร่องทางด้านสติปัญญาเนื่องจากการถูก
ท าลายของสมองจึงท าให้บุคคลกลุ่มนี้ไม่สามารถท าประโยชน์ให้กับประเทศชาติได้มากเท่าที่ควร ในทางตรงกัน
ข้ามยิ่งจะสร้างปัญหาให้กับสังคมมากยิ่งขึ้น เช่น ปัญหาอาชญากรรม ปัญหาครอบครัวและปัญหาที่ส าคัญมาก
ที่สุด คือ ปัญหาที่เยาวชนเปลี่ยนจากผู้เสพมาเป็นผู้ค้าซึ่งก าลังเกิดขึ้นอย่างมากในปัจจุบันเพราะเมื่อกลายเป็นผู้
เสพแล้วหากไม่สามารถที่จะหาเงินมาซื้อเพื่อเสพได้ก็ย่อมที่จะกระท าได้ทุกอย่างเพื่อหาเงินมาซื้อยาให้ได้
ยิ่งไปกว่านั้นแม้นแต่การฆ่าบิดามารดา ญาติพี่น้องหรือผู้ที่บริสุทธิ์ก็สามารถที่จะกระท าได้โดยไม่ยากเนื่องจาก
ในขณะนั้นเขาคือผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
รัฐบาลเล็งเห็นความส าคัญของปัญหายาเสพติดจึงมีนโยบายที่จะให้ทุกฝ่ายช่วยกันแก้ไขปัญหายาเสพติด
ให้หมดไปจากประเทศไทยเนื่องจากปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่ส่งผลต่อสังคมอย่างมากและส่งผลต่อทุกกลุ่ม
คนในสังคมที่ส าคัญคือกลุ่มเยาวชนเนื่องจากเป็นกลุ่มที่มีปัญหาเกี่ยวกับยาเสพติดมากและเป็นกลุ่มที่ทุกคน
ให้ความส าคัญเนื่องจากเยาวชน คือ ก าลังที่จะพัฒนาชาติต่อไปในอนาคต
กระทรวงสาธารณสุขในฐานะผู้รับสนองนโยบายการแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาและกลุ่ม
เยาวชนโดยตรงจากรัฐบาลจึงมีนโยบายให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมการพัฒนาผู้เรียนเกี่ยวกับการแก้ไขและ
ป้องกันปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา เพื่อพัฒนาเยาวชนของชาติให้เป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ
มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีและส่งเสริมให้เขากลายเป็นเยาวชนที่ดีของสังคมและประเทศชาติต่อไป
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้านหนองหว้า ได้เล็งเห็นความส าคัญของปัญหายาเสพติด จึงได้จัดท า
โครงการสร้างสายสัมพันธ์ร่วมฝ่าฟันยาเสพติดในสถานศึกษา ให้กับนักเรียนกลุ่มเสี่ยงเพื่อที่จะอบรมให้ความรู้
และท ากิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความสามัคคีเพิ่มทักษะการสื่อสาร การปฏิเสธการข้องเกี่ยวกับยาเสพติด
สร้างความผ่อนคลายลดความเครียดให้กับผู้ที่เข้าร่วมอบรม โดยผู้จัดท าโครงการหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดท า
โครงการในครั้งนี้จะสามารถช่วยลดปัญหาของสังคมด้านยาเสพติดของเยาวชนให้ลดลงเพื่อให้สังคมของเรา
มีความสงบสุขและช่วยกันพัฒนาเยาวชนของชาติให้มีคุณภาพเพื่อเป็นเยาวชนที่ดีของสังคมและเป็นก าลังที่
ส าคัญของประเทศชาติสืบไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน

อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(ร้อยละ)

20.00 10.00
2 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่

อัตราการสูบบุหรี่ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปลดลงเหลือ(ร้อยละ)

30.00 25.00
3 เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี

จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ (คน)

10.00 5.00
4 เพื่อลดจำนวนการเกิดผู้สูบบุหรี่รายใหม่ที่เป็นสตรี

จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ที่เป็นสตรี(คน)

10.00 5.00
5 เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน

อัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้านของตนเองลดลงเหลือ(ร้อยละ)

40.00 30.00
6 เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะ

การได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะลดลงเหลือ(ร้อยละ)

20.00 10.00
7 เพื่อลดปริมาณการสูบบุหรี่ของผู้สูบบุหรี่ อายุ 15 ปีขึ้นไป

ปริมาณการสูบบุหรี่เฉลี่ยต่อคนต่อวันของผู้สูบบุหรี่ อายุ 15 ปีขึ้นไป ลดลงเหลือ(มวน)

20.00 10.00
8 เพื่อเพิ่มอัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือน โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ

อัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือนโดยไม่กลับไปสูบซ้ำเพิ่มขึ้นเป็น(ร้อยละ)

1.00 2.00
9 เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย

จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายเพิ่มขึ้นเป็น(ร้าน)

132.00 132.00

1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติด
2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ฝึกทักษะการปฏิเสธการข้องเกี่ยวกับยาเสพติด
3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ทากิจกรรมร่วมกันอันจะก่อให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 129
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2020

กำหนดเสร็จ 31/08/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องบุหรี่ เเละสารเสพติดให้โทษ

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เรื่องบุหรี่ เเละสารเสพติดให้โทษ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

หลักสูตรการอบรม โครงการสร้างสายสัมพันธ์ร่วมฝ่าฟันยาเสพติดในสถานศึกษา จานวน 1 วัน (บรรยาย 3 ชั่วโมง และกิจกรรมกลุ่ม 2 ชั่วโมง) กิจกรรมที่ 1 การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติด (บรรยาย 2 ชั่วโมง) -ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดและพิษภัยของยาเสพติด จานวน 2 ชั่วโมง -กิจกรรมละลายพฤติกรรมเพื่อสร้างความสนุกและแบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการอบรม จานวน 1 ชั่วโมง กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมวอล์คแรลลี่เกี่ยวกับยาเสพติดและนันทนาการ (กิจกรรมกลุ่ม 2 ชั่วโมง) 2.1. แบ่งกิจกรรมออกเป็นฐานโดยในแต่ละฐานจะมีกิจกรรมต่างเช่น จานวน 1 ชั่วโมง - กิจกรรมนันทนาการ - กิจกรรมเกม เสริมสร้างความสามัคคี - กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดและทักษะการสื่อสาร/ปฏิเสธการข้องเกี่ยวกับยาเสพติด 2.2. กิจกรรมระดมสมอง ถอดบทเรียนโดยใช้วิทยากร จานวน 1 ชั่วโมง

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กเยาวชน ลด ละ เลิก สูบบุหรีเเละไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดทุกชนิด

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
30090.00

กิจกรรมที่ 2 ตั้งกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนในการป้องกันเเก้ไขปัยหายาเสพติดในโรงเรียน

ชื่อกิจกรรม
ตั้งกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนในการป้องกันเเก้ไขปัยหายาเสพติดในโรงเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ตั้งกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนในการป้องกันเเก้ไขปัยหายาเสพติดในโรงเรียน โดยเเกนนำนักเรียนในโรงเรียน - ให้ควาวมรู้เรื่องยาเสพติดโดยเพื่อน - เเนะนำชักชวนให้เพื่อนห่างไกลยาเสพติด - เป้นกำลังใจเเละให้คำปรึกษาเเก่กัน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 31 พฤษภาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนสำหรับขับเคลือนการป้องกันเเก้ไขปัญหายาเสพติดของนักเรียนในโรงเรียน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 30,090.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของยาเสพติด
2. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีทักษะการปฏิเสธการข้องเกี่ยวกับยาเสพติด
3. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ทากิจกรรมร่วมกันอันจะก่อให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ


>