กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการการจัดการกรณีโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ (อบรมให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) )

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการการจัดการกรณีโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ (อบรมให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) )

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว

ชมรม อสม.หมู่ที่ 4

1. นางขวัญจิตรภูริปัญญานันท์
2. นางอุบลรัตน์อักษรทอง
3. นางสุคนธาพลอยดำ
4. นางเจนจิรา อักษรทอง
5. นางสุรัชนี วุ่นบัว

หอประชุมหมู่ที่4ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรคระบาดที่เกิดขึ้น (โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) แพร่ระบาดไปทั่วโลกรวมถึ่งประเทศไทย ร้อยละ 80 ประชาชนจะได้รับการป้องกันจากโรคดังกล่าว

 

80.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขตามความจำเป็น เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์

ตัวชี้วัดผลผลิต(Outputs) ประฃาฃนในพื้นที่ได้รับการช่วยเหลือในการแก้ปัญหาด้านสาธารณสุขทันต่อเหตุการณ์เมื่อเกิดภัย ตัวชี้วัดผลลัพธ์(Outcomes) ร้อยละ 98 ประชาชนได้รับการช่วยเหลือเมื่อเกิดภัยพิบัติเร่งด่วน

80.00 80.00
2 1. เพื่อให้แกนนำทุกภาคส่วนได้นำความรู้ไปเผยแพร่ให้ประชาชนในพื้นที่ต่อไป 2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนนุให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคระบาดด้วยตนเอง 3. เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายของราชการให้แก่ประชาชน ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) 4. เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19)

1.  แกนนำทุกภาคส่วนสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ให้ประชาชนในพื้นที่ต่อไป 2.  สามารถส่งเสริมและสนับสนนุให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคระบาดด้วยตนเอง 3.  สามารถลดภาระค่าใช้จ่ายของราชการให้แก่ประชาชน ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) 4.  สร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19)

80.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 3,500
กลุ่มวัยทำงาน 3,000
กลุ่มผู้สูงอายุ 2,500
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 2,000
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 265
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 8,950
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการการจัดการกรณีโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นทื่ (อบรมให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)

ชื่อกิจกรรม
โครงการการจัดการกรณีโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นทื่ (อบรมให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคติดเชื้อโวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)
  2. สอนวิธีการจัดทำเจลล้างมือ
  3. ติดตามประเมินผล งบประมาณ 1.ค่าจัดทำป้ายโครงการ 1-3*เป็นเงิน450.-
  4. ค่าตอบแทนวิทยากร อบรมให้ความรู้โรคฯและ การจัดทำเจลล้างมือจำนวน 1 ชมเป็นเงิน300.-
  5. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30คนๆละ 25.-เป็นเงิน 750.-
  6. ค่าวัสดุในการจัดทำเจลล้างมือ เป็นเงิน3500.-
    รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 5,000.-
ระยะเวลาดำเนินงาน
6 มีนาคม 2563 ถึง 21 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

สำรองจ่ายในการจัดการกรณีโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นทื่
เช่นโรคฉี่หนู  โรคตาแดง โรคมือเท้าปาก น้ำกัดเท้า หมอกควัน ฯลฯ งบประมาณ - ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่  เป็นเงิน   5000.-

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 5,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.แกนนำทุกภาคส่วนสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ให้ประชาชนในพื้นที่ต่อไป
2.สามารถส่งเสริมและสนับสนนุให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคระบาดด้วยตนเอง
3.สามารถลดภาระค่าใช้จ่ายของราชการให้แก่ประชาชน ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19)
4.ประชาชนในพื้นที่ได้รับการช่วยเหลือในการแก้ปัญหาด้านสาธารณสุข ทันต่อเหตุการณ์เมื่อเกิดภัย
4.สร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19)


>