กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิก้า โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (ชิคุนกุนยา) แบบครบวงจร ปี 2563

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิก้า โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (ชิคุนกุนยา) แบบครบวงจร ปี 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลสทิงพระ

เขตเทศบาลตำบลสทิงพระ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2020

กำหนดเสร็จ 28/02/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การรณรงค์เชิงรุกเพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายและแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย

ชื่อกิจกรรม
การรณรงค์เชิงรุกเพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายและแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ร่วมกับ อสม. แกนนำชุมชน และนักเรียนลงพื้นที่เคาะประตูบ้านและลงสำรวจลูกน้ำยุงลายทุกบ้าน กำหนดเวลา 3 เดือน จำนวน 12 สัปดาห์ รณรงค์ทุกวันศุกร์ และมีการสำรวจและหาค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายทุกสัปดาห์ พร้อมแจกและใส่ทรายเคมีฟอสกำจัดลูกน้ำยุงลาย หรือปล่อยปลาที่กินลูกน้ำ ค่าใช้จ่าย
1.ค่าอาหารเครื่องดื่มสำหรับการลงพื้นที่รณรงค์ จำนวน 12 ครั้ง ครั้งละ ประมาณ 100 คน ๆละ 35 บาท เป็นเงิน 42,000บาท 2.ค่าทรายเคมีฟอส จำนวน 3 ถัง (500 ซอง) ถังละ5,000 บาท เป็นเงิน15,000 บาท 3.ค่าไวนิลรณรงค์จำนวน 5 ผืน ๆ ละ600บาท เป็นเงิน 3,000 บาท 4.ค่าเอกสารแผ่นปลิว แผ่นพับ จำนวน 1000 แผ่น ๆละ 2 บาท เป็นเงิน 2,000บาท
รวมเป็นเงิน 62,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ดัชนีลูกน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน 2.ไม่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ไข้ปวดข้อยุงลาย โรคชิก้า

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
62000.00

กิจกรรมที่ 2 พ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย

ชื่อกิจกรรม
พ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

พ่นหมอกควันเต็มพื้นที่ ก่อนเกิดโรค จำนวน 2 ครั้ง (เดือน เม.ย.และเดือน ก.ย.)
พ่นหมอกควันในขณะเกิดโรคและหลังเกิดโรค ในบริเวณรัศมี 100 เมตร จากสถานที่พบผู้ป่วย และในสถานศึกษาที่ผู้ป่วยสังกัด จำนวน 2 ครั้ง ห่างกัน 1 สัปดาห์หรือจนกว่าโรคจะสงบ ค่าใช้จ่าย
1.ค่าจ้างเหมาแรงงานพ่นหมอกควัน จำนวน 30 วัน ๆละ 900 บาทเป็นเงิน 27,000 บาท 2.ค่าน้ำมันเบนซินเป็นเงิน 5,000 บาท 3.ค่านำ้มันดีเซลผสมนำ้ยาสำหรับพ่น เป็นเงิน10,000บาท 4.ค่านำ้ยาเคมีพ่นหมอกควันจำนวน 10 กระป๋อง เป็นเงิน15,000บาท 5.ค่าจ้างเหมาพ่นหมอกควัน กรณีเกิดโรค หลังละ 10 บาท ประมาณ 300 หลัง (ประมาณผู้ป่วย ไม่เกิน 10 ราย) เป็นเงิน 3,000 บาท รวมเป็นเงิน 60,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ไม่พบผู้ป่วย
2.บ้านเรือน สถานศึกษา วัด สถานที่ราชการได้รับการพ่นหมอกควัน ครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
60000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 122,000.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยจ่ายได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. สามารถกำจัดและลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
2.ไม่พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
3.การควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกมีประสิทธิภาพ ทันเหตุการณ์


>