กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุนชนบ้านทุ่งรี 2

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์

อสม. ชุนชนบ้านทุ่งรี 2

1. นายประมูลไชยประภา
2. นางเล็กโสดา
3. นางอนงค์วิสมิตะนันท์
4. นายสมบูรณ์ลูกมณี
5. นางจุฑาไชยประภา

ชุนชนบ้านทุ่งรี 2

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สำคัญ ซึ่งมียุงเป็นพาหนะนำโรค มักพบการระบาดช่วงฤดูฝนและมีการเจ็บป่วยกระจายไปทุกพื้นที่ทั่วประเทศไทย จากข้อมูลของสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค พบว่าสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศไทย ข้อมูล ณ 1 มกราคม 2562 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2562 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลาได้รับรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวนทั้งสิ้น 1,436 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 101.92 ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต 1 ราย โดยพบในเพศชาย 753 ราย เพศหญิง 683 ราย อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง เท่ากับ 1.10 : 1 โดยกลุ่มอายุที่พบสูงสุด คือ กลุ่มอายุ 10 – 14 ปี คิดเป็นอัตราป่วย 332.18 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 5 – 9 ปี,15 – 24 ปี,0 – 4 ปี,25– 34 ปี,35– 44 ปี,45– 54 ปี,55– 64 ปี,65 ปีขึ้นไป 255.28,177.43,109.63,75.27,39.25,30.45,22.76 และ 17.55 ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ
สำหรับเทศบาลเมืองคอหงส์ ซึ่งอยู่อำเภอหาดใหญ่ ปี 2561 คิดเป็นอัตราส่วน 291.24 ต่อประชากรแสนคน ชุมชนบ้านทุ่งรี 2 มี 791 ครัวเรือน ประชากร 1,556 คน การดูแลโรคไข้เลือดออกปัจจุบันมุ่งเน้นการป้องกัน ควบคุมโรค ซึ่งเป็นวิธีการเป็นประโยชน์โดยอาศัยความร่วมมือของภาครัฐสนับสนุนด้านวิชาการ งบประมาณ อุปกรณ์ เป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินโครงการแต่ผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง ยั่งยืน มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ของแต่ละชุมชน ก็คือประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน ในพื้นที่ต้องให้ความร่วมมือเข้าไปมีส่วนร่วม ดังนั้นจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นอีก

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงการป้องกันโรคไข้เลือดออก
  1. ร้อยละ 80 ของประชาชนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
  2. อัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชนลดลงร้อยละ 10
0.00
2 เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายที่เกิดจากโรคไข้เลือดออก

 

0.00
3 เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 03/02/2020

กำหนดเสร็จ 31/08/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้ประชาชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้ประชาชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าวิทยากร 600.- บ x 1 คน x 2 ชม. = 1,200.- บ
  • ค่าอาหารว่าง25.- บ x 30 คน x 1 มื้อ = 750.- บ
  • ค่าป้ายไวนิล 1 x 3 ตร.ม. x 150.- บ = 450 บ
  • ค่าจัดทำสติกเกอร์ครัวเรือนต้นแบบ 20 ครัวเรือน x 50.-บ =1,000.-บ
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3400.00

กิจกรรมที่ 2 เดินรณรงค์ให้ความรู้โรคไข้เลือดออกทั้งวัน/กำจัดลูกน้ำยุงลาย เดือนละ 2 ครั้ง จำนวน 4 เดือน ทั้งหมด 8 ครั้ง

ชื่อกิจกรรม
เดินรณรงค์ให้ความรู้โรคไข้เลือดออกทั้งวัน/กำจัดลูกน้ำยุงลาย เดือนละ 2 ครั้ง จำนวน 4 เดือน ทั้งหมด 8 ครั้ง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวัน 50.-บ x 30 คน = 1,500.- บ
  • ค่าอาหารว่าง 25.- บx 30 คน x 2 มื้อ = 1,500.- บ
  • ค่าสเปรย์กำจัดยุง 12 –ขวด x 100.-บ =1,200.- บ
  • ค่าทรายอะเบท 2 ถัง X 2,900 = 5,800 บาท
  • ค่าตอบแทนในการสำรวจ 100 ครัวเรือน x 8 ครั้ง x 15.- บาท = 12,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
22000.00

กิจกรรมที่ 3 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุป โครงการ

ชื่อกิจกรรม
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุป โครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คน x 25.- บ x 1 ครั้ง = 500.- บ
  • ค่าจัดทำเล่มเอกสารสรุปโครงการ = 1,000.- บ
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 26,900.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>