กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สำนักแต้ว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการไอโอดีนเพื่อสุขภาพในเด็กปฐมวัย ประจำปี 2563

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สำนักแต้ว

องค์การบริหารส่วนตำบลสำนักแต้ว

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตองค์การบริหาร่สวนตำบลสำนักแต้วจำนวน5ศูนย์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรคขาดสารไอโอดีนเป็นปัญหาสาธารณสุขทางด้านโภชนาการที่สำคัญ เป็นต้นเหตุที่พบมากที่สุดภาวะปัญญาอ่อนซึ่งป้องกันได้ พบได้ทุกกลุ่มอายุ แต่จะมีผลร้ายแรงชัดเจนในทารกตั้งแต่อยู่ในครรภ์ จนอายุ 2-3 ปี โดยมีผลลดความเฉลียวฉลาด หรือไอคิวของเด็กได้ถึง 10-15 ปี โดยมีผ

 

1,000.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบหลักจากเกลือไอโอดีน

ร้อยละ  65  ของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบหลักจากเกลือเสริมไอโอดีน

350.00 350.00
2 ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และประชาชนในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในสาเหตุและอันตรายจากการขาดสารไอโอดีน

ร้อยละ  90 ของเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และประชาชนในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในสาเหตุและอันตรายจากการขาดสารไอโอดีน

350.00 350.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 350
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 650
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.ขั้นตอนการเตรียมการ

ชื่อกิจกรรม
1.ขั้นตอนการเตรียมการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 จัดทำโครงการไอโอดีนเพื่อสุขภาพในเด็กปฐมวัยประจำปี  2563 1.2.เสนอโครงการต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ  อบต.สำนักแต้ว 1.3  คณะกรรมการอนุมัติโครงการฯเพื่อดำเนินการต่อ

ระยะเวลาดำเนินงาน
24 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 27 กุมภาพันธ์ 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีโครงการเสนอเพื่อขอรับการอนุมัติงบประมาณสนับสนุน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 2 ขั้นตอนการดำเนินการ

ชื่อกิจกรรม
2 ขั้นตอนการดำเนินการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

2.1  กิจกรรมให้ความรู้เด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก แม่ครัว  ผู้ปกครอง และประชาชนในชุมชนใกล้เคียง  เรื่อง การส่งเสริมไอโอดีนเพื่อสุขภาพในเด็กปฐมวัย       2.2 จัดทำกิจกรรมแจกจ่ายเกลือไอโอดีนให้แก่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯจำนวน  5  ศูนย์       2.3  กิจกรรมจัดทำแผ่นพับให้ความรู้เรื่องไอโอดีนให้แก่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ จำนวน  5  ศูนย์       2.4  ประเมินผลและสรุปโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.จัดซื้อเกลือที่มีไอโอดีนให้แก่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  =  2,800  บาท 1.แผ่นพับจำนวน  1,200  แผ่น x 14 บาท = 16,800  บาท 2.เอ็กแสตน จำนวน 2,000 บาท x 10 อัน = 20,000 บาท

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
39600.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 39,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กครูผู้ดูแลเด็กแม่ครัวผู้ปกครองและประชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในสาเหตุและอันตรายจากขาดสารไอโอดีน
2. ประชาชนเข้าใจและสามารถนำความรู้มาใช้ในชีวิตประจำวันได้
3. เด็กนักเรียนในศูนย์เด็กเล็กได้รับการบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบหลักจากเกลือไอโอดีน


>