กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขุนหาญ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการตรวจคัดกรอง เฝ้าระวังและป้องกันสารพิษตกค้างค้างในเลือดเกษตรกร

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ขุนหาญ

รพ.ขุนหาญ

จำนวนทั้ง 9 หมู่บ้าน ในเขตตำบลขุนหาญ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย

 

24.00
2 ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์

 

28.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร

ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ลดลงเหลือ

24.00 10.00
2 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์

ร้อยละครัวเรือนที่ทำการเกษตรแบบปลอดภัย/อินทรีย์ เพิ่มขึ้น

28.00 21.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/12/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ตรวจวัดค่าสารเคมีในเลือดของเกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
ตรวจวัดค่าสารเคมีในเลือดของเกษตรกรกลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. รวบรวมข้อมูลรายชื่อประชากร โดยแยกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มเกษตรกรที่มีความเสี่ยงสารเคมี 2. กลุ่่มผู้บริโภค  เพื่อตรวจวัดค่าสารเคมีในเลือดก่อนนำมาเปรียบเทียบผล
  2. แจ้งประสานและนัดหมายกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้ารับการตรวจเลือดเพื่อหาค่าสารเคมีในเลือด
  3. ตรวจค่าสารเคมีในเลือดให้กับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 100 คน และบันทึกข้อมูล
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 มกราคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ข้อมูลค่าสารเคมีในเลือดของกลุ่มเป้าหมายเกษตรกร และกลุ่มผู้บริโภค ซึ่งสามารถนำมาวิเคราะห์สาเหตุของการมีสารเคมีในเลือดได้
  2. กลุ่มเกษตรกรและกลุ่มผู้บริโภคเกิดความตระหนักถึงพฤติกรรมเสี่ยงต่อการได้รับสารเคมี
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการการลดการใช้สารเคมีทางการเกษตรและการบริโภค

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการการลดการใช้สารเคมีทางการเกษตรและการบริโภค
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการออกเป็น 2 รุ่นๆ ละ 50 คน  ครั้งที่ 1 การอบรมเชิงปฏิบัติการการลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร "เกษตรทางเลือกที่ปลอดภัย"  ครั้งที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยจากสารเคมี
  2. ความรู้ในการจัดการอบรม ประกอบด้วย การทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักกำจัดแมลงและวัชพืช และ การตรวจสารเคมีในพืชผักผลไม้ การทำความสะอาดเพื่อหลีกเลี่ยงสารเคมี
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เกษตรกร ผู้บริโภค มีความรู้ความเข้าใจแนวทางการหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี
  2. สมาชิกเกษตรปลอดสารปลอดภัยเพิ่มเมากขึ้น
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
30000.00

กิจกรรมที่ 3 ประชุมแลกเปลี่ยนการลดการใช้สารเคมีทางการเกษตรในชุมชนอย่างยั่งยืน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมแลกเปลี่ยนการลดการใช้สารเคมีทางการเกษตรในชุมชนอย่างยั่งยืน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ประชุมกลุ่มเป้าหมายกลุ่มเกษตรกรและกลุ่มผู้บริโภคเพื่อสรุปผลการปฏิบัติตนเพื่อลดการใช้สารเคมีการสัมผัสสารเคมี เพื่อสร้างสุขภาพ
  2. หาแนวทางการปฏิบัติที่เป็นข้อตกลงร่วมกันในการลดใช้สารเคมีในชุมชน
  3. มีการตรวจสารเคมีในเลือดเพื่อเปรียบเทียบผลก่อนหลังเข้าร่วมโครงการ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ปริมาณสารเคมีในเลือดของเกษตรกรและผู้บริโภคลดลง  และลดภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพ
  2. แนวทางการลดสารเคมีและการหลีกเลี่ยงสารเคมีจากการเกษตรและการบริโภค
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 50,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีปริมาณสารเคมีในเลือดลดลง และมีสุขภาพที่ดีขึ้น ลดความเสี่ยงจากโรคภัยต่างๆ
2. แนวทางการทำการเกษตรปลอดสารเคมี และสามาชิกเครือข่ายเกษตรเพิ่มขึ้น
3. ข้อตกลง/กติการข้อปฏิบัติในการลดการใช้สารเคมีในชุมชน


>