กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางกล่ำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคุ้มครองผู้บริโภค

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางกล่ำ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางกล่ำ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางกล่ำ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อพัฒนาร้านชำ/มินิมาร์ทให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์รพ.สต.ติดดาว

 

0.00
2 ๒. เพื่อตรวจสอบ ติดตาม กำกับ ดูแล ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ผลิตภัณฑ์อาหารสด อาหารแปรรูป ให้ได้มาตรฐานและปลอดภัยสำหรับผู้บริโภค

 

0.00
3 ๓. เพื่อพัฒนาเครือข่ายด้านคุ้มครองผู้บริโภคและประชาชนมีความรู้และพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องเหมาะสม

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ร้านชำ/มินิมาร์ท 23
ร้านอาหาร/แผงลอย 8
โรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ ๑ อบรมผู้ประกอบการร้านชำ/มินิมาร์ท ให้มีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ ๑ อบรมผู้ประกอบการร้านชำ/มินิมาร์ท ให้มีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒๓ คน x 25 บาท x1 มื้อ  เป็นเงิน  ๕๗๕  บาท
  • ค่าสื่อการสอนไวนิลแบบ Roll up ขนาด ๖๐ ซม. X ๑๖๐ ซม. จำนวน ๑ ชิ้น
    เป็นเงิน  ๑,๘๐๐  บาท
  • ค่าวิทยากร ชั่วโมงละ ๖๐๐ บาท x ๒ ชั่วโมง        เป็นเงิน ๑,๒๐๐ บาท
  • ค่าเอกสารวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน        เป็นเงิน ๕00 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4075.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ ๒ อบรมฟื้นฟูความรู้ตามมาตรฐานสุขาภิบาล แผงลอย ศพด.และโรงเรียน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ ๒ อบรมฟื้นฟูความรู้ตามมาตรฐานสุขาภิบาล แผงลอย ศพด.และโรงเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๑๒ คน x 25 บาท x1 มื้อ  เป็นเงิน  ๓๐๐  บาท
  • ค่าวิทยากร ชั่วโมงละ ๖๐๐ บาท x ๒ ชั่วโมง        เป็นเงิน ๑,๒๐๐ บาท
  • ค่าเอกสารวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน        เป็นเงิน ๕00 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ ๓ อบรมประชาชนทั่วไป/ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เรื่องการเลือกซื้อ เลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ ๓ อบรมประชาชนทั่วไป/ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เรื่องการเลือกซื้อ เลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๕๐ คน x 25 บาท x1 มื้อ  เป็นเงิน  ๑,๒๕๐ บาท
  • ค่าวิทยากร ชั่วโมงละ ๖๐๐ บาท x ๒ ชั่วโมง        เป็นเงิน ๑,๒๐๐ บาท
  • ค่าเอกสารวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน        เป็นเงิน ๑,๐00 บาท
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3450.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 9,525.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. ร้านชำได้รับการเฝ้าระวังติดตามและตรวจประเมินตามเกณฑ์ของรพ.สต.ติดดาว
๒. ผู้ประกอบการร้านขายของชำสามารถเลือกซื้ออาหาร ยา เครื่องสำอางผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาจำหน่ายให้กับผู้บริโภค
๓. ผู้บริโภคมีความปลอดภัยจากการใช้ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพ


>