กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางปอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสุขกาย สุขใจ ห่างไกลอบายมุข

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางปอ

อัน-ซอร์ กองทุนเพื่อเด็กด้อยโอกาส และไร้ที่พึง โรงเรียนสุกัญศาสน์วิทยา แผนอนุบาล-ประถม

1.นายยาวารูดิงหะยีและ

2.นายฮาซัน ยานา

3.นายนัซรูดิง รือสะ

4.นายมักตา สามะแอ

5.นายมุคตาร์ โต๊ะมา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

สถานการณ์ปัจจุบันอบายมุขนับว่าเป็นปัญหาสังคมอย่างหนึ่งที่กัดกร่อนสังคมไทยมาโดยตลอด และยิ่งถ้าอบายมุขแพร่เข้าไปในโรงเรียนซึ่งเป็นสถาบันที่สำคัญรองจากสถาบันครอบครัว ที่จะอบรมบ่มนิสัยอันดีงามแก่เด็ก และเยาวชนด้วยแล้ว
นักเรียนซึ่งเป็นกำลังสำคัญระดับมันสมองของชาติในอนาคต ถ้าตกเป็นเหยื่อของอบายมุขก็ไม่อาจเป็นความหวังของชาติในอนาคตได้ ตรงกันข้ามกลับเป็นการเพิ่มภาระให้แก่สังคมอีกด้วย ดังนั้น โรงเรียนในฐานะที่เป็นสถาบันพัฒนาบุคคลของชาติจึงมีหน้าที่โดยตรงต่อการพิจารณาและสกัดกั้นปัญหาอบายมุขมิให้เข้ามากล้ำกรายนักเรียนและในสถานศึกษาได้ การเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาอบายมุขที่ดึงครอบครัวเข้ามาเกี่ยวข้องและให้มีบทบาทเพื่อการแก้ไขปัญหาอบายมุขประสบผลดี
ทั้งนี้ กลุ่ม อัน-ซอร์ กองทุนเพื่อเด็กด้อยโอกาสและไร้ที่พึง โรงเรียนสุกัญศาสน์วิทยา แผนอนุบาล-ประถม ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญกับปัญหา จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการแก้ปัญหาดังกล่าว

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ด้านแก้ปัญหายาเสพติดและมีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ

1.ผู้ที่ได้รับการอบรม มีความรู้ด้านแก้ปัญหายาเสพติดมีสุขภาพกาย และจิตที่ดีขึ้น.

0.00
2 เพื่อพัฒนา และเพิ่มศักยภาพ สมรรถภาพของบุคคล

2.ผู้ที่ได้รับการอบรม นำความรู้ไปเผยแพร่ในชุมชนต่อไป

0.00
3 เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตในหมู่บ้าน

3.ชุมชน ลดสิ่งอบายมุข

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.อบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
1.อบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวิทยากร600 บ x 3 ชั่วโมง x 2 คน = 3,600 บ.

ค่าอาหารกลางวัน 50 บ. x 100 คน x 1 มื้อ=5,000 บ.

ค่าอาหารว่าง 25 บ. x 100 คน x 2 มื้อ = 5,000 บ.

ค่าเอกสารประกอบการฝึกอบรม 30 บ. x 100 คน= 3,000 บ.

ค่าวัสดุ 30 บ. x 100 คน= 3,000 บ.

ค่าป้ายโครงการขนาด 1.20 ม.x 2.40 ตารางเมตรๆละ 250 = 750 บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20350.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,350.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้เข้าร่วมอบรมและครูมีส่วนร่วม และให้ความสำคัญเกี่ยวกับการป้องกันการติดยาเสพติด และการดูแลสุขภาพกาย และจิต จนกลายเป็นกิจวัตรประจำวัน

2.ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำความรู้เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้


>