กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบ้านสีคงเสริมสร้างภูมิคุ้มกันใส่ใจสุขภาพ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

บัณฑิตอาสาฯ บ้านสีคง

1.นางสาวนิตยา บุญส่งค์ เบอร์โทร.086-2904933
2.นางตวิษา จัตวากุล
3.นางสาววิลาวัลย์กุ้ยโกก
4.นางสาววิราภรณ์ จันดี
5.นางลออง ช่วยนุกูล

หมู่ที่ 7 ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

50.00
2 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)

 

20.00
3 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

10.00

จากการสำรวจข้อมูลของคนในหมู่บ้านสีคงพบว่าเด็กๆในหมู่บ้านจะเล่นโทศัพท์กันเยอะมาก ไม่ค่อยได้ออกกำลังกายทำให้ร่างกายไม่ค่อยแข็งแรง เกิดสภาวะอ้วนลงพุง จึงได้คิดโครงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันการมีสุขภาพที่ดีขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

20.00 50.00
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

10.00 30.00
3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

50.00 60.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 27/07/2020

กำหนดเสร็จ 13/01/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมจัดตั้งคณะทำงานโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมจัดตั้งคณะทำงานโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดประชุมคณะทำงานโครงการ จำนวน 15 คน

2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 15 คน * 25 บาท = 375 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 1 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดแผนงานดำเนินการโครงการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
375.00

กิจกรรมที่ 2 คัดกรองสุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ขยับกายเสริมสร้างสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
คัดกรองสุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ขยับกายเสริมสร้างสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ ดังนี้
-กลุ่มเยาวชนต้นแบบ ที่มีภาวะอ้วน มีน้ำหนักเกิน ภาวะติดเกมส์มีพฤติกรรมเนือยนิ่ง จำนวน 20 คน -กลุ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะปวดเข่า ที่มีความเสี่ยงจากการทำงาน (กรีดยาง) และขาดการออกกำลังกายจำนวน20 คน
-วัยทำงาน ที่มีความเสี่ยงจากการทำงาน (กรีดยาง)เช่น กรีดยาง จำนวน 20 คน
2.เพื่อชี้แจงแนวทางการทำโครงการ ตรวจวัดรอบเอว ความดันและน้ำหนัก ก่อนเริ่มโครงการ และให้ออกแบบการทำกิจกรรมเคลื่อนไหวทางกายที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มวัย
ค่าใช้จ่าย
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน60 คนX 25 บาท เป็นเงิน 1500 บาท
2.ค่าเอกสารแบบฟอร์ม เป็นเงิน 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 13 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจแนวทางการทำกิจกรรม
2. เกิดรูปแบบการเคลื่อนไหวทางกายร่วมกันแต่ละกลุ่ม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

กิจกรรมที่ 3 ออกแบบท่าขยับกายลดปวดในกลุ่มผู้กรีดยาง กลุ่มวัยทำงาน และกลุ่มผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
ออกแบบท่าขยับกายลดปวดในกลุ่มผู้กรีดยาง กลุ่มวัยทำงาน และกลุ่มผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

นำผู้กรีดยางที่เข้าร่วมโครงการอบรมและฝึกวิเคราะห์ความเสี่ยงจากการทำงาน และออกแบบการขยับกายลดปวด
ค่าใช้จ่าย
1.ค่าตอบแทนวิทยากร 600 บาท x3 ชม. เป็นเงิน 1800 บาท
2.ค่าอาหารว่าง 25 บาท x20 คน x1 มื้อ เป็นเงิน 500 บาท
3.ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x50 คน เป็นเงิน 2500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีท่าออกกำลังกาย ลดการปวดเข่า ในกลุ่มผู้กรีดยาง ที่เป็นผู้สูงอายุ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4800.00

กิจกรรมที่ 4 ขยับกายด้วยการเต้นแอโรบิก และไม้พลอง ระยะเวลา 6 เดือน

ชื่อกิจกรรม
ขยับกายด้วยการเต้นแอโรบิก และไม้พลอง ระยะเวลา 6 เดือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เยาวชนและกลุ่มผู้สูงอายุ ร่วมกันออกกำลังกายด้วยแอโรบิกและไม้พลอง จำนวน 6 เดือน
ค่าใช้จ่าย
1.ชุดลำโพงบูทูธ ราคา 5000 บาท

2.ค่าผู้นำเต้น 6เดือน x1000 บาท เป็นเงิน 6000 บาท

3.วัสดุสำหรับทำไม้พลอง ราคา 1500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายมีการออกกำลังกาย ร้อยละ 80

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12500.00

กิจกรรมที่ 5 การประเมินผลสถานการณ์สุขภาพของผู้เข้าร่วมกิจกรรม

ชื่อกิจกรรม
การประเมินผลสถานการณ์สุขภาพของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การทำข้อมูลสถานการณ์สุขภาพประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ โดยการชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิตสูง และความถี่ของการร่วมทำกิจกรรมออกกำลังกาย มอบประกาศนียบัตรและอุปกรณ์สำหรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่ผู้ที่มีสุขภาพดีขึ้น (ชุดกระเช้าอาหารเพื่อสุขภาพ)
ค่าใช้จ่าย
1.ค่าอุปกรณ์สำหรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 3 ชุด เป็นเงิน 3000 บาท
2.ค่าประกาศนียบัตรพร้อมกรอบ เป็นเงิน 2000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
26 สิงหาคม 2564 ถึง 26 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดบุคคลต้นแบบการดูแลสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 24,675.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

เด็กและประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี
สามารถลดหน้าท้องได้ดี


>