กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดงประคำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ดงประคำชุุมชนดี เลิกสูบบุหรี่ เพื่อครอบครัว

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดงประคำ

ชมรม อสม.รพ.สต.ดงประคำ

1. นายเภาอ่อนตานา
2. นายดวงเดี่ยวสว่างวงษ์
3. นายศุภากรมะรังษี
4. นายเรียมทองอยู่
5. นางสาวน้ำค้างชินวงศ์พรม

หมู่ที่ 1,2,4,5,6,10 และ 11 ตำบลดงประคำ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสุรา , แผนงานยาสูบ , แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและเยาวชน(อายุไม่เกิน 25 ปี) ที่สูบบุหรี่

 

8.00
2 จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี (คน)

 

112.00
3 ร้อยละของผู้ได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน

 

12.00
4 ร้อยละของผู้ที่ได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะ

 

18.00
5 ร้อยละของการเข้าสู่ระบบบริการช่วยเลิกยาสูบในสถานพยาบาลของรัฐ

 

10.00
6 ร้อยละของผู้เลิกบุหรี่ได้สำเร็จ (เลิกติดต่อกันนานเกิน 6 เดือน โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ)

 

25.00
7 ร้อยละของผู้ใหญ่(อายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไป) ที่สูบบุหรี่

 

16.00
8 จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ที่เป็นสตรี(คน)

 

26.00
9 ปริมาณการสูบบุหรี่ (เฉลี่ยต่อคนต่อวัน) ของผู้สูบบุหรี่อายุ 15 ปีขึ้นไป (มวน)

 

15.00
10 ค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่เฉลี่ยต่อเดือนของผู้สูบบุหรี่รายคน(บาท)

 

2,300.00
11 จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย (ร้าน)

 

13.00
12 ยอดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบทั้งหมดเฉลี่ยต่อเดือนของร้านค้า (บาท)

 

11,500.00
13 มาตรการของชุมชนที่ประกาศใช้เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ(จำนวนมาตรการ)

 

3.00
14 งบประมาณต่อปีที่ใช้ไปในการจัดการควบคุมยาสูบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(บาท)

 

10,000.00
15 จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงาน เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ (คน)

 

35.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน

อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(ร้อยละ)

8.00 3.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน

จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ เพิ่มขึ้นเป็น(คน)

35.00 70.00
3 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่

อัตราการสูบบุหรี่ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปลดลงเหลือ(ร้อยละ)

16.00 5.00
4 เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี

จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ (คน)

112.00 20.00
5 เพื่อเพิ่มงบประมาณต่อปีที่ใช้ไปในการจัดการควบคุมยาสูบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

งบประมาณต่อปีที่ใช้ไปในการจัดการควบคุมยาสูบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพิ่มขึ้นเป็น (บาท)

10000.00 15000.00
6 เพื่อลดจำนวนการเกิดผู้สูบบุหรี่รายใหม่ที่เป็นสตรี

จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ที่เป็นสตรี(คน)

26.00 5.00
7 เพื่อลดยอดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบทั้งหมดเฉลี่ยต่อเดือนของร้านค้า

ยอดจำหน่ายยาสูบโดยรวมทั้งหมดต่อเดือนของร้านค้า ลดลงเหลือ (บาท)

11500.00 1500.00
8 เพื่อเพิ่มอัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือน โดยไม่กลับไปสูบซ้ำ

อัตราการเลิกบุหรี่ได้สำเร็จติดต่อกันนานเกิน 6 เดือนโดยไม่กลับไปสูบซ้ำเพิ่มขึ้นเป็น(ร้อยละ)

25.00 50.00
9 เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่เฉลี่ยต่อเดือนของผู้สูบบุหรี่รายคน

ค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่เฉลี่ยต่อเดือนของผู้สูบบุหรี่รายคน ลดลงเหลือ(บาท)

2300.00 500.00
10 เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย

จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายเพิ่มขึ้นเป็น(ร้าน)

13.00 20.00
11 เพื่อเพิ่มจำนวนมาตรการของชุมชนที่ประกาศใช้เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ

จำนวนมาตรการของชุมชนที่ประกาศใช้เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ เพิ่มขึ้นเป็น(จำนวนมาตรการ)

3.00 5.00
12 เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้าน

อัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้านของตนเองลดลงเหลือ(ร้อยละ)

12.00 5.00
13 เพื่อลดปริมาณการสูบบุหรี่ของผู้สูบบุหรี่ อายุ 15 ปีขึ้นไป

ปริมาณการสูบบุหรี่เฉลี่ยต่อคนต่อวันของผู้สูบบุหรี่ อายุ 15 ปีขึ้นไป ลดลงเหลือ(มวน)

15.00 5.00
14 เพื่อเพิ่มอัตราการเข้าสู่ระบบบริการช่วยเลิกยาสูบในสถานพยาบาลของรัฐ

อัตราการเข้าสู่ระบบบริการช่วยเลิกยาสูบในสถานพยาบาลของรัฐเพิ่มขึ้นเป็น(ร้อยละ)

10.00 50.00
15 เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะ

การได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะลดลงเหลือ(ร้อยละ)

18.00 5.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 750
กลุ่มวัยทำงาน 350
กลุ่มผู้สูงอายุ 150
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 150
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2018

กำหนดเสร็จ 31/08/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 2.1ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนและชี้แจงรายละเอียดโครงการ 2.2ประชุมคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบระดับตำบล 2.3ประชุมชี้แจงเครือข่ายครู/แกนนำเยาวชนเพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องโทษ พิษภัยของบุหรี่ สุรา รู

ชื่อกิจกรรม
2.1ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนและชี้แจงรายละเอียดโครงการ 2.2ประชุมคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบระดับตำบล 2.3ประชุมชี้แจงเครือข่ายครู/แกนนำเยาวชนเพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องโทษ พิษภัยของบุหรี่ สุรา รู
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

2.1กิจกรรมประชุมคณะทำงานฯ จำนวน 1 ครั้งๆละ 1 วัน   - ค่าจ้างเหมาทำกลางวัน 1 มื้อ และอาหารว่าง 2 มื้อ จำนวน 35 คนๆละ 100 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท 2.2กิจกรรมประชุมคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบระดับตำบล จำนวน 1 ครั้ง    - ค่าจ้างเหมาทำอาหารว่าง 1 มื้อ จำนวน 35 คนๆละ
     25  บาท เป็นเงิน 875 บาท 2.3กิจกรรมประชุมชี้แจงเครือข่ายครู/แกนนำเยาวชน จำนวน 1 ครั้งๆละ 1 วัน
   - ค่าจ้างเหมาทำกลางวัน 1 มื้อ และอาหารว่าง 2 มื้อ จำนวน 30 คนๆละ 100 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท 2.4กิจกรรม อสม. ผู้นำท้องที่ท้องถิ่น ร่วมประชุมประชาสัมพันธ์เผยแพร่สื่อสารและให้ความรู้ แก่เจ้าของร้านชำที่จำหน่ายสุราและบุหรี่ จำนวน 1 ครั้งๆละ 1 วัน    - ค่าจ้างเหมาทำกลางวัน 1 มื้อ และอาหารว่าง 2 มื้อ จำนวน 31 คนๆละ 100 บาท เป็นเงิน 3,100 บาท
2.5กิจกรรมประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปโครงการ ค้นหาปัญหาอุปสรรค และประเมินผลงาน จำนวน 1 ครั้งๆละ 1 วัน    - ค่าจ้างเหมาทำกลางวัน 1 มื้อ และอาหารว่าง 2 มื้อ จำนวน 35 คนๆละ 100 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  13,975  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2561 ถึง 31 มกราคม 2561
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>