กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดาโต๊ะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ " ขยับกายสบายชีวี เพื่อสุขภาพที่ดีของคนโคกหมัก

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดาโต๊ะ

ชมรมสร้างเสริมสุขภาพบ้านโคกหมัก

1.นางจนตนา เพชรวิโรชน์ 0849650492
2.นางอนงค์ สงวนสกุล
3
4
5

หมู่ที่ 2 บ้านโคกหมัก ต.ดาโต๊ะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

50.00
2 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

30.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

50.00 60.00
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

30.00 40.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 06/01/2021

กำหนดเสร็จ 31/03/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 รณรงค์เรื่องกิจกรรมทางกาย

ชื่อกิจกรรม
รณรงค์เรื่องกิจกรรมทางกาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชาสัมพันธ์ รณรงค์ติดป้ายไวนิล
2.ใช้พื้นที่มัสยิด และวัดเป็นสถานที่ประชาสัมพันธ์

ระยะเวลาดำเนินงาน
8 มกราคม 2564 ถึง 31 มกราคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มวัยทำงาน มีสุขภาพแข็งแรง
2.กลุ่มเป้าหมาย ห่างไกลโรค

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3000.00

กิจกรรมที่ 2 การลดพฤติกรรมเนือยนิ่งของคนในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
การลดพฤติกรรมเนือยนิ่งของคนในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.วิทยากรให้คำแนะนำ การออกกำลังกายตามวัยที่เหมาะสม
2.วิทยากรนำเต้นแอโรบิด หรือขยับกายด้วยวิธีการอื่น
3.มีการใช้เครื่องเสียงเพื่อให้เข้าจังหวะ และเกิดความเพลิดเพลิน

ระยะเวลาดำเนินงาน
6 มกราคม 2564 ถึง 31 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.กลุ่มเป้าหมายมีอารมณ์ที่สดใส และมีการตื่นตัว ในการออกกำลังกาย
2.เกิดความสนุกสนาน และเกิดความคุ้นเคย ในกลุ่มเดียวกัน
3.ทำให้สมองแจ่มใส่ และสุขภาพกายที่แข็งแรง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

กิจกรรมที่ 3 สามารถขับเคลื่อนงานกิจกรรมทางกาย

ชื่อกิจกรรม
สามารถขับเคลื่อนงานกิจกรรมทางกาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนอื่นได้มีการออกกำลังกาย
2.มีการปรับเปลี่ยนการออกกำลังกายด้วยวิธีอื่น เช่น ปั่นจักรยาน ฯลฯ
3.มีการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเป็นประจำทุกปี

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพที่แข็งแรงมากขึ้น
2.มีจำนวนผู้ที่ทำกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 18,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.กลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอายุห่างไกลโรค
2.มีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น
3.มีสุขภาพกายที่ดีขึ้น


>