กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาแก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาแก

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านนาหลู่

นางเดือน ตั้งจิต
นางรัศมี โซ่เงิน
นางสาวดวงมาล แก้วบุญตา
นายวัฒนา วงเวียน
นางอัญญลักษณ์ อกอุ่น

หมู่ 3,4,6 ตำบลนาแก อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

10.00
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

10.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 10

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 10

10.00 40.00
2 ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีผลการตรวจระดับ น้ำตาลในเลือด/ระดับความดันโลหิต เปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

กลุ่มป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน สามารถควบคุมโรคได้ ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน มีเครือข่าย/แกนนำด้านสุขภาพในชุมชน

60.00 50.00
3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

10.00 8.00
4 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

10.00 6.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 122
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2020

กำหนดเสร็จ 31/03/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยง

ชื่อกิจกรรม
ตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ดำเนินการตรวจคัดกรองประชาชนในหมู่บ้าน ตรวจวัดความดัน ค่าน้ำตาล และเก็บข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ
  2. จัดทำฐานข้อมูลประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเพื่อเป็นกลุ่มเป้าหมายในการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนที่มีอายุ 15ปีขึ้นไป ในหมู่บ้านรับผิดชอบ ได้รับการตรวจคัดกรอง
  2. ได้ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มประชากรในหมู่บ้าน และข้อมูลกลุ่มประชากรที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
  3. ได้กลุ่มเป้าหมายที่จะให้เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานและความคันโลหิตสูง
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1600.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพเพื่อห่างไกลเบาหวาน ความดันโลหิตสูง

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพเพื่อห่างไกลเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. อบรมเชิงปฏิบัติการพฤติกรรมสุขภาพห่างไกลเบาหวาน ความดัน กลุ่มเป้าหมาย 80 คน
  2. ทำกิจกรรมการประกอบเมนูอาหารเพื่อห่างไกล เบาหวาน ความดันฯ
  3. กิจกรรมยึดเยียด ขยับกาย เพื่อส่งเสริมสุขภาพร่างกายแข็งแรง
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2563 ถึง 29 พฤษภาคม 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการอบรมและร่วมทำกิจกรรมมีความรู้และความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น
  2. ประชาชนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภค ลดหวาน มัน เค็ม ในการทำเมนูอาหารประจำวัน
  3. เกิดแกนนำผู้ดูแลสุขภาพของหมู่บ้าน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 6,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมี
ผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด/ระดับความดันโลหิต เปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ
- กลุ่มป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน สามารถควบคุมโรคได้ ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน
มีเครือข่าย/แกนนำด้านสุขภาพในชุมชน


>