กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาสุขภาพ กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แหลมสน

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลแหลมสน

1. นายอาหมัดเวชศักดิ์

2. นายคณิตตุกังหัน

3. ส.ต.ต.สนิทขาวเชาะ

4. นางสาวฐานิศาสาเบด

5.ว่าที่ ร.ต.หญิง วาสนา

ตำบลแหลมสน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงอันรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงด้านประชากร สิ่งแวดล้อม พลังงาน การผลิต การค้าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสาธารณสุขระบบข้อมูลข่าวสารที่มีประสิทธิภาพ และจากการแปรผันด้านภูมิอากาศในภูมิภาคทั่วโลกเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติบ่อยครั้ง ประกอบกับมีการเปลี่ยนแปลงของประชากรและพฤติกรรมของมนุษย์ การพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการค้า
และการเดินทางมีโอกาสทำให้เกิดโรคติดต่อทั้งที่มาจากการเดินทางหรือจากภัยพิบัติต่างๆ ได้ รวมทั้งโรคที่เกิดจากเชื้ออุบัติใหม่ หรือจากโรคติดต่อที่เคยยับยั้งได้แล้วกลับมาระบาดใหม่อีกครั้งโดยโรคติดต่ออุบัติใหม่ ที่เกิดในมนุษย์จำนวนมากมีต้นกำเนิดมาจากสัตว์หรือสัตว์ป่า และมีปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคมากมาย ได้แก่ การเคลื่อนย้ายของประชากร สัตว์พาหะนำโรค เช่น ยุง การขาดความรู้ความเข้าใจและความตระหนักในการป้องกันควบคุมโรคของประชาชน การปฏิบัติตนยังไม่ถูกต้องตามหลักสุขอนามัยหรือสุขลักษณะ รวมทั้งกลุ่มที่อาจมีการแพร่
โรคหรือรับโรคได้ง่าย เช่น เด็ก กลุ่มผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก หรือกลุ่มผู้ที่จะเดินทางไปต่างประเทศซึ่งส่งผลกระทบทั้งทางด้านสุขภาพร่างกายและจิตใจ รวมทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคมเป็นอย่างมากจำเป็นต้องมีการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลแหลมสน ได้เห็นถึงความสำคัญของการควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาสุขภาพ และภัยพิบัติที่เกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาสุขภาพ กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติเพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือกับโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1. เพื่อควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาสุขภาพ กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่
  1. ร้อยละ 100 ของพื้นที่ได้รับการควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาสุขภาพ กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. ควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ

ชื่อกิจกรรม
1. ควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 กิจกรรมย่อยการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง  ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและดำเนินการแก้ไข กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ

กลุ่มเป้าหมาย -ประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง


รายละเอียดกิจกรรม 1.1.1 สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและดำเนินการแก้ไข กรณีเกิดโรคระบาด เช่น โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19), โรคไข้เลือดออก, โรคชิคุนกุนยา, โรคมือ เท้า ปากอุจจาระร่วงเฉียบพลัน มาลาเรีย ไข้หวัดนก โรคพิษสุนัขบ้า โรคอุบัติใหม่ ฯลฯ 1.1.2 สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและดำเนินการแก้ไข กรณีเกิดภัยพิบัติ เช่น น้ำท่วมหมอกควัน ฯลฯ - วัสดุ/อุปกรณ์
- ค่าใช้สอย
- ค่าตอบแทนสำหรับเจ้าหน้าที่หรือลูกจ้างของ อปท. ที่ได้รับการแต่งตั้ง รวมเป็นเงิน 15,500.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีการเตรียมการดำเนินงานเฝ้าระวัง  ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและดำเนินการแก้ไข กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. สามารถแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ


>