กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

จัดตั้งศูนย์เรียนรู้เพื่อการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

คณะกรรมการหมู่บ้านบ้านแคเหนือ หมู่ที่ 2

1. นายอะหมัด หลีขาหรี
2. นายไสโฝด หลีขาหรี
3. นายซุลตอล หมัดหมัน
4. นายสะอาดีน เด็นยี
5. นายหมัดดาโหด หัสเอียด

ตำบลแค อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานแรงงานนอกระบบ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนศูนย์เรียนรู้ด้านเกษตรกรปลอดสารเคมีหรืออินทรีย์ เกษตรต้นแบบ

 

0.00
2 จำนวนมาตราการในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน

 

7.00
3 จำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ (คน)

 

20.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่

จำนวนอาสาสมัครแรงงานในพื้นที่ เพิ่มขึ้น(คน)

20.00 50.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนมาตราการ ในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน

มีจำนวนมาตราการในการทำงานหรือกำหนดข้อบังคับการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ป้องกันปัญหาสุขภาพ/โรคจากการทำงาน เพิ่มขึ้น

7.00 10.00
3 เพื่อเพิ่มศูนย์เรียนรู้ด้านเกษตรกรปลอดสารเคมีหรืออินทรีย์ เกษตรต้นแบบ

จำนวนศูนย์เรียนรู้ด้านเกษตรกรปลอดสารเคมีหรืออินทรีย์ เกษตรต้นแบบ(แห่ง)

0.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2021

กำหนดเสร็จ 31/08/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและจัดทำแผนปฏิบัติงานของศูนย์เรียนรู้เพื่อการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและจัดทำแผนปฏิบัติงานของศูนย์เรียนรู้เพื่อการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้เพื่อการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ
จำนวน 20 คน ระยะเวลา 2 วัน
วันที่ 1 พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้เพื่อการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ
วันที่ 2 จัดทำแผนปฏิบัติงานของศูนย์เรียนรู้เพื่อการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ
1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 20 คน คนละ 50 บาท 2 วัน เป็นเงิน 2000 บาท
2. ค่าอาหารว่าง จำนวน 20 คน คนละ 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท 2 วัน เป็นเงิน 2000 บาท
3. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 10 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 6000 บาท
4. ค่าเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 20 ชุด ชุดละ 25 บาท เป็นเงิน 500 บาท
5. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน 1000 บาท
6. ค่าจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1.20 x 2.40 เมตร ผืนละ 500 บาท จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
13 มกราคม 2564 ถึง 14 มกราคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. คณะกรรมการศูนย์เรียนรู้เพื่อการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบมีความรู้และทักษะเกี่ยวกับอาชีวอนามัยเชิงรุกและการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ
  2. เกิดแผนปฏิบัติงานของศูนย์เรียนรู้เพื่อการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12000.00

กิจกรรมที่ 2 พัฒนาหลักสูตรอาชีวอนามัยเชิงรุกและการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาหลักสูตรอาชีวอนามัยเชิงรุกและการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

พัฒนาหลักสูตรอาชีวอนามัยเชิงรุกและการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ
จำนวน 20 คน ระยะเวลา 2 วัน
วันที่ 1 พัฒนาหลักสูตรอาชีวอนามัยเชิงรุกเพื่อการส่งเสริมสุขภาพแรงงานนอกระบบในชุมชน
วันที่ 2 พัฒนาหลักสูตรการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ
1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 20 คน คนละ 50 บาท 2 วัน เป็นเงิน 2000 บาท
2. ค่าอาหารว่าง จำนวน 20 คน คนละ 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท 2 วัน เป็นเงิน 2000 บาท
3. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 10 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 6000 บาท
4. ค่าเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 20 ชุด ชุดละ 25 บาท เป็นเงิน 500 บาท
5. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 11 กุมภาพันธ์ 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดหลักสูตรอาชีวอนามัยเชิงรุกและการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11000.00

กิจกรรมที่ 3 พัฒนาศักยภาพวิทยากรอาสาสมัครหลักสูตรอาชีวอนามัยเชิงรุกและการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาศักยภาพวิทยากรอาสาสมัครหลักสูตรอาชีวอนามัยเชิงรุกและการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

พัฒนาศักยภาพวิทยากรอาสาสมัครหลักสูตรอาชีวอนามัยเชิงรุกและการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ
จำนวน 20 คน ระยะเวลา 2 วัน
วันที่ 1 พัฒนาทักษะการเป็นวิทยากรกระบวนการ
วันที่ 2 ฝึกปฏิบัติการเป็นวิทยากรกระบวนการเพื่อจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ
1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 20 คน คนละ 50 บาท 2 วัน เป็นเงิน 2000 บาท
2. ค่าอาหารว่าง จำนวน 20 คน คนละ 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท 2 วัน เป็นเงิน 2000 บาท
3. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 10 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 6000 บาท
4. ค่าเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 20 ชุด ชุดละ 25 บาท เป็นเงิน 500 บาท
5. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
17 มีนาคม 2564 ถึง 18 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดวิทยากรอาสาสมัครหลักสูตรอาชีวอนามัยเชิงรุกและการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ จำนวน 20 คน ที่มีทักษะการเป็นวิทยากรกระบวนการเพื่อจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11000.00

กิจกรรมที่ 4 จัดทำสื่อประกอบการเรียนรู้หลักสูตรอาชีวอนามัยเชิงรุกและการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ

ชื่อกิจกรรม
จัดทำสื่อประกอบการเรียนรู้หลักสูตรอาชีวอนามัยเชิงรุกและการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดทำสื่อประกอบการเรียนรู้หลักสูตรอาชีวอนามัยเชิงรุกและการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ
1. ค่าป้ายไวนิลพร้อมขาตั้ง จำนวน 6 ชุด ชุดละ 1000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
18 พฤษภาคม 2564 ถึง 18 พฤษภาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกิดสื่อประกอบการเรียนรู้หลักสูตรอาชีวอนามัยเชิงรุกและการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ จำนวน 6 ชุด

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6000.00

กิจกรรมที่ 5 อบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ ตามหลักสูตรอาชีวอนามัยเชิงรุกและการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ จำนวน 50 คน
1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คน คนละ 50 บาท เป็นเงิน 2500 บาท
2. ค่าอาหารว่าง จำนวน 50 คน คนละ 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 2500 บาท
3. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 3000 บาท
4. ค่าเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 20 ชุด ชุดละ 50 บาท เป็นเงิน 1000 บาท
5. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน 1000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
21 เมษายน 2564 ถึง 22 เมษายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

แรงงานนอกระบบเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการทำงาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 50,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. คณะกรรมการศูนย์เรียนรู้เพื่อการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบมีความรู้และทักษะเกั่ยวกับอาชีวอนามัยเชิงรุกและการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ
2. เกิดแผนปฏิบัติงานของศูนย์เรียนรู้เพื่อการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ
3. เกิดหลักสูตรอาชีวอนามัยเชิงรุกและการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ
4. เกิดวิทยากรอาสาสมัครหลักสูตรอาชีวอนามัยเชิงรุกและการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ จำนวน 20 คน ที่มีทักษะการเป็นวิทยากรกระบวนการเพื่อจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ
5. แรงงานนอกระบบเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยงจากการทำงาน
6. เกิดสื่อประกอบการเรียนรู้หลักสูตรอาชีวอนามัยเชิงรุกและการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของแรงงานนอกระบบ จำนวน 6 ชุด


>