กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านต๋อม

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

อบรมให้ความรู้และพัฒนาทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ปี 2564

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านต๋อม

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต๋อม

นางกรรณิการ์พรหมเผ่า และคณะ

ห้องประชุม โรงเรียนอสม.จิตอาสา ตำบลบ้านต๋อม

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ผู้ป่วยส่วนมากมักพบโรคในช่วงอายุช่วงอายุ 45 - 50 ปี เมื่อเริ่มวินิจฉัยพบว่าร้อยละ 80 เป็นมะเร็งในระยะแรก(ระยะที่ 1 - 3), ร้อยละ 10 เป็นมะเร็งในระยะกระจาย (ระยะที่ 4) และจากการตรวจคัดกรองที่มากขึ้นในปัจจุบัน ในประเทศไทยทำให้พบมะเร็งเต้านมระยะแรกมากขึ้น

 

100.00
2 วิธีการตรวจเต้านมด้วยตนเอง (Breast SelfExamination: BSE) เป็นการตรวจคัดกรองที่หญิงไทยเข้าถึงได้มากที่สุด วิธีนี้ไม่ลดอัตราตายจากมะเร็งเต้านม แต่เพิ่มการตรวจชิ้นเนื้อเพื่อวินิจฉัยและพบเนื้องอกเต้านมที่ไม่ใช่มะเร็ง

 

100.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่ออบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็งเต้านม และการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ๒. เพื่อพัฒนาทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ๓. เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.ประชุมคณะทำงาน

ชื่อกิจกรรม
1.ประชุมคณะทำงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมคณะทำงาน เพื่อหาแนวทางการทำโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
14 กันยายน 2563 ถึง 14 กันยายน 2563
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

จัดทำโครงการ เพื่อขออนุมัติ และขอรับการสนับสนุนงบประมาณ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 2. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็งเต้านม และการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง

ชื่อกิจกรรม
2. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็งเต้านม และการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าจ้างเหมาจัดทำเอกสารในการอบรม จำนวน 100 ชุดๆ ละ 10 บาท      เป็นเงิน    1,000 บาท
  2. ค่าวัสดุในการอบรม (สมุด ปากกา) จำนวน 100 ชุดๆละ 25 บาท         เป็นเงิน    2,500 บาท
  3. ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ จำนวน 100 คนๆละ 80 บาท              เป็นเงิน    8,000 บาท
  4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  จำนวน 100 คนๆละ 25 บาท 2 มื้อ        เป็นเงิน    5,000 บาท
  5. ค่าตอบแทนวิทยากรในการอบรม จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 300 บาท   เป็นเงิน    1,800 บาท
  6. ค่าทำป้ายไวนิลอบรมขนาด 1.5 x 3 ตารางเมตรๆละ 150 บาท จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 675 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
18975.00

กิจกรรมที่ 3 3.ติดตาม สรุปผลโครงการ

ชื่อกิจกรรม
3.ติดตาม สรุปผลโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
31 มีนาคม 2564 ถึง 31 มีนาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 18,975.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. สตรีตำบลบ้านต๋อม มีความรู้และทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
2. ผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านมตำบลบ้านต๋อม ไม่รับการวินิจฉัยและรักษาโรคมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก
3. มีแนวทางการเข้าถึงการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและการเข้าถึงการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรก


>