กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคัดกรองความดันเบาหวานตำบลเขาขาว

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว

กลุ่ม อสม.ตำบลเขาขาว

นางสาวซีตีลานี ยาประจัน
นางสาวนิตยา ดินเตบ
นางชนิดา องสารา
นางสุนีย์ ศีรอ่อน
นางเสานีย์ รอดเสน

ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และถือว่าเป็น "ภัยเงียบ" เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างกาย เช่น ตา ไต หลอดเลือด ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเปาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง และยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก จำนวนผู้ป่วยความดันเบาหวาน แยกเป็นรายปี 3 ปีย้อนหลังตามรายละเอียดดังนี้ ปี 2561,2562,2563 ผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน 160,169,195 คน (ตามลำดับ) ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 534,560,613 คน (ตามลำดับ) และในตำบลเขาขาวพบว่ามีผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อายุน้อยโดยพบตั้งแต่อายุ 20 ปี ดังนั้นอาสาสมัครประจำหมู่บ้านจึงได้จัดทำโครงการคัดกรองความดันเบาหวานขึ้นเพื่อคนในชุมชนตั้งแต่อายุ 20 ปีขึ้นไปได้รับการดูแลสุขภาพและการรักษาอย่างทันท่วงที

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่

 

0.00
2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันมีสุขภาพทีเหมาะสมและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 700
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมคณะทำงาน

  • ค่าอาหารว่าง 1 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 20 คน เป็นเงิน 500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

แบ่งหน้าที่ ค้นหากลุ่มเป้าหมาย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
500.00

กิจกรรมที่ 2 ให้ความรู้และ คัดกรอง ความดันเบาหวาน ในกลุ่มอายุ 20 ปี ขึ้นไป

ชื่อกิจกรรม
ให้ความรู้และ คัดกรอง ความดันเบาหวาน ในกลุ่มอายุ 20 ปี ขึ้นไป
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รายละเอียดกิจกรรม : ให้ความรู้ คัดกรองความดันโลหิต และ ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด

  1. เครื่องวัดความดันโลหิตสูง จำนวน 1 เครื่อง เครื่องละ 3,000 บาท

  2. ชุดตรวจระดับน้ำตาลในเลือด ชุดละ 30 บาท จำนวน 300 ชุด รวมเป็นเงิน 9,000 บาท

  3. อาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 300 คน เป็นเงิน 7,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

คนในชุมชนได้รับการตรวจสุขภาพ
คนในชุมชนได้เข้าถึงการรักษาและป้องกันอย่างทันท่วงที
คนในชุมชนได้มีสุขภาพที่ดีห่างไกลจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง


>