กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการกินดี ปฎิบัติดี คิดดี ต้านภัยNCD(โรคเรื้อรัง) ลดกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมโพธิ์

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.แหลมโพธิ์

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการกินดี ปฎิบัติดี คิดดี ต้านภัยNCD(โรคเรื้อรัง) ลดกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ปี 2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมโพธิ์

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.แหลมโพธิ์

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแหลมโพธิ์

หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 4 ตำบลแหลมโพธิ์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

18.00
2 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

18.00

ผลการการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปจำนวน 999 ราย ในหมู่ที่ 2 และ หมู่ที่ 4 ตำบลแหลมโพธิ์ ตรวจพบประชาชนกลุ่มเสี่ยง ป่วยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 206 ราย คิดเป็นร้อยละ 18.0 ต่อประชาชนทั้งหมด จะเห็นว่าสัดส่วนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตมีแนวโน้มสูงมากขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

18.00 20.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง

18.00 20.00

1. เพื่อลดอัตราผู้ป่วยใหม่จากกลุ่มเสี่ยงสูงและลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วย
2. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 10
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 23/11/2020

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี

ชื่อกิจกรรม
ประชุมชี้แจงและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมฯจำนวน 50 คนๆ ละ 25 บาท x 2 มื้อ x 2 ครั้งเป็นเงิน5,000บาท
  2. ค่าอาหารกลางวัน กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมฯจำนวน 50 คนๆ ละ 50 บาท x 2 ครั้ง เป็นเงิน5,000บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2564 ถึง 30 มกราคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และ ไม่เกิดเป็นผู้ป่วยรายใหม่
  2. กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลติดตามและไม่มีภาวะแทรกซ้อน
  3. กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8200.00

กิจกรรมที่ 2 ประชุมติดตามผลและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี ให้แก่ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ภายใต้แนวคิด “กินดี ปฏิบัติดี คิดดี ต้านภัยNCD ด้วย 3อ.2ส.” จำนวน 2 วั

ชื่อกิจกรรม
ประชุมติดตามผลและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี ให้แก่ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ภายใต้แนวคิด “กินดี ปฏิบัติดี คิดดี ต้านภัยNCD ด้วย 3อ.2ส.” จำนวน 2 วั
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมฯจำนวน 50 คนๆ ละ 25 บาท x 2 มื้อ x 2 ครั้งเป็นเงิน5,000บาท
  2. ค่าอาหารกลางวัน กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมฯ จำนวน 50 คนๆ ละ 50 บาท x 2 ครั้งเป็นเงิน5,000บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และ ไม่เกิดเป็นผู้ป่วยรายใหม่
  2. กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลติดตามและไม่มีภาวะแทรกซ้อน
  3. กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมประชุมสรุปกิจกรรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี ให้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ,กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ภายใต้แนวคิด “กินดี ปฎิบัติดี คิดดี

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมประชุมสรุปกิจกรรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี ให้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ,กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ภายใต้แนวคิด “กินดี ปฎิบัติดี คิดดี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 50 บาท x 82 คนเป็นเงิน 4,100 บาท
  2. ค่าอาหารว่างและน้ำดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 2 มื้อๆ ละ 25 บาท x 82 คน เป็นเงิน 4,100 บาท
  3. ค่าวัสดุจัดการกิจกรรมในการติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (กระดาษบรู๊ฟ,กระดาษสี,ปากกาเมจิก) จำนวน 3 ครั้งๆ ละ 500 บาทเป็นเงิน 1,500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และไม่เกิดเป็นผู้ป่วยรายใหม่
  2. กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลติดตามและไม่มีภาวะแทรกซ้อน
  3. กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9700.00

กิจกรรมที่ 4 คืนข้อมูล ค้นหาบุคคลต้นแบบด้านปรับเปลี่ยน ฯ HT/ DM ในประชาชนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัย และกลุ่มป่วยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ชื่อกิจกรรม
คืนข้อมูล ค้นหาบุคคลต้นแบบด้านปรับเปลี่ยน ฯ HT/ DM ในประชาชนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัย และกลุ่มป่วยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าป้ายประชาสัมพันธ์และคืนข้อมูล
- ค่าป้ายไวนิลโครงการฯ ขนาด 1.2 x 2.4 เมตร จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 720 บาท
- ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ความรู้โรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการเฝ้าระวังโรคฯ ด้วยปิงปองจราจรชีวิต 7 สี ขนาด 1.2 ม. x 2.4 ม.(ตารางเมตรละ 250 บาท) จำนวน 4 ป้ายๆ ละ 720 บาท เป็นเงิน 2,880 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑  กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และ ไม่เกิดเป็นผู้ป่วยรายใหม่ ๒  กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลติดตามและไม่มีภาวะแทรกซ้อน 3  กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3600.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 31,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. กลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และ ไม่เกิดเป็นผู้ป่วยรายใหม่
2. กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการดูแลติดตามและไม่มีภาวะแทรกซ้อน
3. กลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม


>