กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการเล่นกีฬาฟุตบอลและแชร์บอลของนักเรียนตาดีกาบ้านนนท์

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน

ศูนย์การศึกษาอิสลามประจำมัสยิด(ตาดีกา)บ้านนนท์

1.นายสำสุดี้น หมีนยะลา โทร 0966707291
2.นายสมานรอหีม โทร 0878990071
3.นางมุรณีย์หวังและ โทร 0902098132
4.น.ส.อาซีซ๊ะและมินา โทร 0993173315
5.น.ส.นูรุลฮูดาเต๊ะมะหมัด โทร 0612490400

สนามกีฬาโรงเรียนบ้านนนท์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)

 

60.00
2 ร้อยละของเวลาในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)

 

15.00
3 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

60.00
4 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

 

60.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

60.00 80.00
2 เพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูฯย์เด็กเล็ก

ร้อยละของเวลาในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)

15.00 30.00
3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

60.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
คณะครู 10

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การขับเคลื่อนกระบวน การนโยบายสาธารณะในพื้นที่เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกาย

ชื่อกิจกรรม
การขับเคลื่อนกระบวน การนโยบายสาธารณะในพื้นที่เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ร่วมสร้างข้อตกลงกับผู้ปกครอง ชุมชน ร่วมกับโรงเรียนดาตีกามีกิจกรรมทางกายควบคู่กับกิจกรรมด้านอาหารและโภชนาการผลักดันนโยบายการปรับปรุงสภาพแวดล้อมของโรงเรียนมีการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายของนักเรียนและบุคลากรกำหนดนโยบายที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน ค่าใช้จ่ายสำหรับผู้เข้าร่วมการประชุม
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1250 บาท
2. ค่าป้ายโครงการ จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
11 มกราคม 2564 ถึง 11 มกราคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

โรงเรียนตาตีกามีนโยบายส่งเสริมการออกกำลังกายร่วมกับ ผู้ปกครองและชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1750.00

กิจกรรมที่ 2 การสร้างความรู้ ความเข้าใจ จัดการความรู้และนวัตกรรม และการสื่อสารภายในโรงเรียน

ชื่อกิจกรรม
การสร้างความรู้ ความเข้าใจ จัดการความรู้และนวัตกรรม และการสื่อสารภายในโรงเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การสร้างความรู้ ความเข้าใจ จัดการความรู้และนวัตกรรม และการสื่่่อสาร 1. สร้างการสื่อสารในช่องทางต่าง ๆ ที่หลากหลายรูปแบบ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และรณรงค์เรื่องกิจกรรมทางกาย และการลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง เช่น การจัดนิทรรศการ เสียงตามสาย
ค่าใช้จ่าย
1. ป้ายไวนิลจำนวน 5 ผืน ๆละ 500 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
2. ค่าวัสดุทำป้ายประชาสัมพันธ์เชิญชวนการออกกำลังกาย เป็นเงิน 2,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
12 มกราคม 2564 ถึง 15 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

การจัดการความรู้และการสื่อสาร

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาขีดความ สามารถนักเรียนด้านความรู้และทักษะการออกกำลังกาย

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนาขีดความ สามารถนักเรียนด้านความรู้และทักษะการออกกำลังกาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 90 คน ๆละ 25 บาท 2 มื้อ เป้นเงิน 4,500 บาท
  2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 90 คน ๆละ 50 บาท1 มื้อ เป้นเงิน 4,500 บาท
  3. ค่าวิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมง ๆละ600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
  4. ค่าอุปกรณ์การอบรม 1,200 บาท 5.ค่าป้ายไวนิล 500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
13 มกราคม 2564 ถึง 13 มกราคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12500.00

กิจกรรมที่ 4 จัดกิจกรรมส่งเสริมการเคลื่อนไหวให้กับนักเรียนออกกำลังกายด้วยฟุตบอล

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมส่งเสริมการเคลื่อนไหวให้กับนักเรียนออกกำลังกายด้วยฟุตบอล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อุปกรณ์การออกกำลังกาย
1. ลูกฟุตบอล 6 ลูก ๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2. กรวยยาง จำนวน 10 อัน ๆละ 150 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
3. ตาข่ายประตูฟุตบอล 1 ชุด เป็นเงิน 2,000 บาท
4. ค่าเสื้อกั๊กสี จำนวน 20 ตัว ๆละ 100 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
3. เหมาจ่ายค่าตอบแทนผู้ฝึกทักษะการเล่นฟุตบอล 24 ชั่วโมงเป็นเงิน 5,000 บาท
4. ค่าเหมาจ่ายอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 45 คน เป็นเงิน 5,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
19 มกราคม 2564 ถึง 15 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการเคลื่อนไหวด้วยฟุตบอลได้ออกกำลังกายที่ถูกต้องและต่อเนื่อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
17300.00

กิจกรรมที่ 5 จัดกิจกรรมส่งเสริมการเคลื่อนไหวให้กับนักเรียนออกกำลังกายด้วยแชร์บอล

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมส่งเสริมการเคลื่อนไหวให้กับนักเรียนออกกำลังกายด้วยแชร์บอล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดกิจกรรมส่งเสริมการเคลื่อนไหวให้กับนักเรียนออกกำลังกายด้วยแชร์บอล จำนวน 35 คน
อุปกรณ์ส่งเสริมการออกกำลังกาย
1. ลูกฟุตบอล 6 ลูก ๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
2. ตะกร้าแชร์บอล จำนวน 4 อัน ๆละ 250 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
3. เหมาจ่ายค่าตอบแทนผู้ฝึกทักษะการออกกำลังกายด้วยแชร์บอล 24 ชั่วโมงเป็นเงิน 5,000 บาท
4. ค่าเหมาจ่ายอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 35 คน เป็นเงิน 4,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
19 มกราคม 2564 ถึง 15 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการเคลื่อนไหวด้วยแชร์บอลได้ออกกำลังกายที่ถูกต้องและต่อเนื่อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11800.00

กิจกรรมที่ 6 การสร้างกลไกความร่วมมือขององค์กร หน่วยงาน เครือ ข่ายผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อการเพิ่มกิจกรรมทางกายของคนในชุมชนร่วมกับโรงเรียน

ชื่อกิจกรรม
การสร้างกลไกความร่วมมือขององค์กร หน่วยงาน เครือ ข่ายผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อการเพิ่มกิจกรรมทางกายของคนในชุมชนร่วมกับโรงเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดกิจกรรมรณรงค์สร้างกระแสการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อเพิ่มเครือข่าย สร้างกลไกความร่วมมือกับชุมชนหรือหน่วยงานร่วมกับโรงเรียน

ค่าใช้จ่ายผู้เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ในหมู่บ้านชุมชนกับนักเรียนของโรงเรียนตาตีกา
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 90 คน ๆละ 25 บาท เป็นเงิน2,250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
8 เมษายน 2564 ถึง 8 เมษายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กิจกรรมรณรงค์สร้างกระแสส่งเสริมการร่วมออกกำลังกาย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2250.00

กิจกรรมที่ 7 สรุปผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
สรุปผลการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมผู้เกี่ยวข้องสรุปผลการดำเนินงาน
ค่าใช้จ่าย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คน ๆละ 25 บาท เป้นเงิน 500 บาท
- ค่าเอกสารรูปเล่ม จำนวน 2เล่มๆละ 250 บาท เป็นเงิน 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 กันยายน 2564 ถึง 15 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

สรุปผลการดำเนินงาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 51,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

นักเรียนมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงรักการออกกำลังกาย


>