กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพแม่และเด็ก

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว

นางพรพนา ดินเตบ 08946ึ78374
นายเสนีย์ เหมนะ 0897379020

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ในปีการศึกษา 2563 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว มีเด็กนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก คือ ฟันผุและฟันไม่สะอาด จำนวน 139 คน จากนักเรียนทั้งหมด 180 คน คิดเป็นร้อยละ 77.22 จากข้อมูลดังกล่าว พบว่าเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีปัญหาด้านสุขภาพช่องปากเป็นจำนวนมากจากการสำรวจโดยแบบบันทึกการตรวจสุขภาพประจำวัน แบบบันทึกฟันผุ และแบบตรวจสภาวะช่องปากและพฤติกรรมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จากเจ้าหน้าที่ทันตสุขภาพ โรงพยาบาลละงู นอกจากนี้พบว่า เด็กยังมีภูมิต้านทานต่อโรคต่าง ๆ น้อย เช่น โรคหวัด พบว่า จากจำนวนเด็กทั้ง ๘ ห้องเรียนมีสัดส่วนต่อการเป็นไข้ เป็นหวัดและมีน้ำมูกในทุกฤดูกาลวันละไม่น้อยกว่า ๓ คน ต่อห้องเรียน ปัญหาดังกล่าว อาจส่งผลต่อพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของเด็ก ได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและสติปัญญา จึงจำเป็นต้องมีการส่งเสริมและป้องกันการดูแลสุขภาพและสุขภาพช่องปากของลูกตั้งแต่แรกเกิด นอกจากนี้จะต้องให้ความรู้แก่พ่อ-แม่ ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง และลูก ซึ่งจะส่งผลดีต่อสุขภาพร่างกายและสุขภาพช่องปากและปราศจากฟันผุไปด้วย
จากสภาพปัญหาดังกล่าว ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว เห็นความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการ ฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพแม่และเด็กขึ้น เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว มีสุขภาพและสุขภาพช่องปากดีขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพ สุขภาพช่องปากและฟันดีขึ้น

นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีสุขภาพสุขภาพช่องปากและฟันดีขึ้น

0.00
2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตรหลาน

นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ มีทักษะในการดูแลสุขภาพ สุขภาพช่องปากและสุขภาพฟันตามวัยดีขึ้น

0.00
3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการที่ดีเหมาะสมกับวัย ปลอดภัยจากโรค

ผู้ปกครองร้อยละ ๘๐ มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ สุขภาพช่องปาก สุขภาพฟัน ของตนเองและของบุตรหลานดีขึ้น

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 180
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2021

กำหนดเสร็จ 30/09/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมผู้ปกครองสาธิตและฝึกปฏิบัติ

ชื่อกิจกรรม
อบรมผู้ปกครองสาธิตและฝึกปฏิบัติ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการฝึกปฏิบัติและสาธิตการแปรงฟัน เป็นเงิน 7,050บาท
  2. ค่าป้ายโครงการ ขนาด 3x1.5 เมตร 1 ผืน เป็นเงิน 450 บาท
  3. ค่าอาหารว่าง 1 มื้อๆละ 25 บาทจำนวน 180 คนเป็นเงิน 4,500 บาท
  4. ค่าจัดทำคู่มือเล่มละ 10 บาท จำนวน 180 เล่ม เป็นเงิน 1,800 บาท
  5. ค่าวิทยากร จำนวน 4 ชั่วโมงๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,200บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองร้อยละ ๘๐ มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ สุขภาพช่องปาก สุขภาพฟัน ของตนเองและของบุตรหลานดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15000.00

กิจกรรมที่ 2 ติดตามผลสุขภาพ ช่องปาก และสุขภาพฟัน ครั้งที่ ๑

ชื่อกิจกรรม
ติดตามผลสุขภาพ ช่องปาก และสุขภาพฟัน ครั้งที่ ๑
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ไม่ใช้งบประมาณ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองร้อยละ ๘๐ มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ สุขภาพช่องปาก สุขภาพฟัน ของตนเองและของบุตรหลานดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 ติดตามผลสุขภาพ ช่องปาก และสุขภาพฟัน ครั้งที่ ๒

ชื่อกิจกรรม
ติดตามผลสุขภาพ ช่องปาก และสุขภาพฟัน ครั้งที่ ๒
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ไม่ใช้งบประมาณ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองร้อยละ ๘๐ มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ สุขภาพช่องปาก สุขภาพฟัน ของตนเองและของบุตรหลานดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 รายงานผลการดำเนินโครงการ

ชื่อกิจกรรม
รายงานผลการดำเนินโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ไม่ใช้งบประมาณ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองร้อยละ ๘๐ มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ สุขภาพช่องปาก สุขภาพฟัน ของตนเองและของบุตรหลานดีขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,000.00 บาท

หมายเหตุ :
1. รวบรวมข้อมูลเด็กนักเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาวที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก
2. เขียนโครงการและนำเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการและงบประมาณ
3. ดำเนินงานตามโครงการ
3.1 ประชุมผู้ปกครองและคณะกรรมการบริหารศูนย์เพื่อวางแผนดำเนินงาน
3.2 อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ สุขภาพช่องปากและสุขภาพฟัน และสาธิตและฝึกปฏิบัติการแปรงฟันที่ถูกวิธีและบันทึกผล
3.3 กิจกรรมแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันทุกวัน พร้อมบันทึกคุณภาพการแปรงฟัน
3.4 บันทึกการตรวจสุขภาพปากและฟันทุกวัน
4. รายงานผลการดำเนินงานโครงการ

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. นักเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีสุขภาพสุขภาพช่องปากและฟันดีขึ้น
2. นักเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีทักษะในการดูแลสุขภาพ สุขภาพช่องปากและสุขภาพฟันตามวัยดีขึ้น
3. ผู้ปกครองร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ สุขภาพช่องปาก สุขภาพฟันของตนเองและของบุตรหลานดีขึ


>