กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการรณรงค์และหยุดการเกิดนักสูบหน้าใหม่ตำบลวังประจัน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน

คณะกรรมการหมู่บ้าน ม.4

1.นายเรวัฒน์ บูอีตำ
2.นายมาแอน ปานกลาย
3.นายอับดุลรอหมาน นาปาเลน
4.นายยาวัยหนี บินดอละ
5.น.ส.รุสนีตา เจะหมีน

ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานยาสูบ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

สถานการณ์การสูบบุหรี่ในกลุ่มเยาวชนอายุ ๑๒ –๑๘ปี มีปริมาณสูงขึ้นถึงปีละ ๑ แสนคนและสถิติเด็กไทยที่ติดบุหรี่ ๑๐ คน จะมีเด็กติดบุหรี่ ๗ คน และปัญหาสุขภาพช่องปาก รวมถึงป้องกันนักสูบหน้าใหม่ให้รู้จักการกล้าที่จะปฏิเสธบุหรี่เมื่อถูกชักชวนและสามารถพัฒนาจนเกิดทักษะในการป้องกันตนเองได้ เนื่องจากสถานการณ์การสูบบุหรี่ในเด็กประถมศึกษาไทยกำลังน่าเป็นห่วง มีแนวโน้มการสูบบุหรี่สูงขึ้น ซึ่งจากการสำรวจของกรมอนามัยพบว่า เด็กที่อายุน้อยที่สุดเริ่มสูบบุหรี่ครั้งแรก อายุเพียง ๙ ปี ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสูบบุหรี่ของเยาวชนมากที่สุด คือมีเพื่อนหรือคนรู้จักสอนให้สูบบุหรี่ และการมีคนในครอบครัวสูบบุหรี่ รวมถึงการถูกใช้ให้ไปซื้อบุหรี่ เด็กขาดความรู้ความเข้าใจในพิษภัยของบุหรี่ ต้องการแสดงพฤติกรรมต่อต้านสังคม การเลียนแบบจากสื่อภาพยนตร์ต่างๆ ที่ทำให้เด็กถูกชักจูงได้ง่ายจากกลยุทธ์การโฆษณา รวมทั้งกิจกรรมส่งเสริมการขายต่างๆ ที่แฝงการโฆษณาของบริษัทบุหรี่ซึ่งที่ผ่านมาการสูบบุหรี่เป็นสาเหตุสำคัญของปัญหาทางสุขภาพที่ร้ายแรง บุคลากรทางสาธารณสุขจึงมีความพยายามที่จะรณรงค์เพื่อควบคุมการบริโภคบุหรี่ มุ่งเน้นให้เกิดการลดการสูบบุหรี่ในนักสูบหน้าใหม่ เพราะการไม่สูบบุหรี่นั้นจะทำให้อัตราการเสียชีวิตจากโรคที่เกี่ยวข้องลดลงได้อย่างมีนัยสำคัญ และทำให้สุขภาพอนามัยและสุขภาพชีวิตทุกคนในสังคมดีขึ้น โดยใช้โรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้นในการจัดกิจกรรมบูรณาการเรียนการสอน ใช้การเล่นกีฬาเบี่ยงเบนความสนใจของเด็ก เริ่มในเด็กอายุน้อยกว่า ๑๒ ปี ซึ่งกิจกรรมและการรณรงค์ต่างๆ จะต้องได้รับการร่วมมือจากเด็ก ครอบครัว โรงเรียน ชุมชนในการกำหนดมาตรการเพื่อควบคุมและป้องกันผู้สูบหน้าใหม่อย่างมีประสิทธิภาพ
ดังนั้นชมรมรักษ์วัง จึงตระหนักและเห็นความสำคัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์และหยุดการเกิดนักสูบหน้าใหม่ตำบลวังประจัน เพื่อให้ความรู้แก่เยาวชนตำบลวงประจัน ให้ตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่และให้ความสำคัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด อีกทั้งเป็นการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อพัฒนาเยาวชนในพื้นที่ปลูกฝังเป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจมีภูมิคุ้มกันยาเสพติดเพื่อเป็นเกราะกำบังในการป้องกันการเกิดนักสูบหน้าใหม่ ปลูกจิตสำนึกให้แก่เยาวชนในเรื่องพิษภัยและโทษของบุหรี่ที่มีผลต่อร่างกายและพิษภัยที่เกิดกับนักสูบมือ ๒ ให้พ้นจากพิษภัยของบุหรี่

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อป้องกันและลดจำนวนนักสูบหน้าใหม่ในเยาวชน

มีมาตรการในการป้องกันและลดนักสูบหน้าใหม่

0.00
2 2.เพื่อให้เยาวชนได้รู้ถึงพิษภัยและโทษของบุหรี่ที่มีต่อร่างกาย

เยาวชนได้รู้ถึงพิษภัยและโทษของบุหรี่ที่มีต่อร่างกาย

0.00
3 3.เพื่อป้องกันนักสูบมือ 2 ให้พ้นจากพิษภัยของบุหรี่

มีมาตรการป้องนักสูบมือ  2  ให้พ้นจากพิษภัยของบุหรี่

0.00

1. เพื่อป้องกันและลดจำนวนนักสูบหน้าใหม่ในเยาวชน
2. เพื่อให้เยาวชนได้รู้ถึงพิษภัยและโทษของบุหรี่ที่มีต่อร่างกาย
3. เพื่อป้องกันนักสูบมือ ๒ ให้พ้นจากพิษภัยของบุหรี่

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 75
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2021

กำหนดเสร็จ 15/08/2021

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและอันตรายของบุหรี่,สารประกอบในควันบุหรี่,โรคที่เกิดจากบุหรี่,แนวทางในการเลิกบุหรี่

ชื่อกิจกรรม
1.อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและอันตรายของบุหรี่,สารประกอบในควันบุหรี่,โรคที่เกิดจากบุหรี่,แนวทางในการเลิกบุหรี่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้เรื่องโทษและอันตรายของบุหรี่,สารประกอบในควันบุหรี่,โรคที่เกิดจากบุหรี่,แนวทางในการเลิกบุหรี่ 1.ค่าป้ายโครงการ จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 500 บาท 2.ค่าวัสดุอุปกรณ์อุปกรณ์ เป็นเงิน 2,900 บาท
3.ค่าอาหารกลางวันพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆละ 1 มื้อ ๆ ละ 60 บาทเป็นเงิน 4,800 บาท
4.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆละ1 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
5.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 ชม. ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท 6.ค่าห้องประชุมจำนวน2วันๆละ1,000บาทเป็นเงิน2,000บาท 7.ค่าที่พักจำนวน2หลังๆละ4,000บาทเป็นเงิน8,000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 15 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้เรื่องโทษและอันตรายของบุหรี่,สารประกอบในควันบุหรี่,โรคที่เกิดจากบุหรี่,แนวทางในการเลิกบุหรี่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
21100.00

กิจกรรมที่ 2 2.อบรมให้ความรู้คุณธรรมจริยธรรมบุหรี่กับหลักศาสนาอิสลาม

ชื่อกิจกรรม
2.อบรมให้ความรู้คุณธรรมจริยธรรมบุหรี่กับหลักศาสนาอิสลาม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้คุณธรรมจริยธรรมบุหรี่กับหลักศาสนาอิสลาม
1.ค่าอาหารเย็น จำนวน 80 คนๆละ 1 มื้อ ๆ ละ 60 บาทเป็นเงิน 4,800 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 80คนๆละ1 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
3.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 ชม. ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 900 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 15 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เยาวชนไดรับความรู้เรื่องคุณธรรมจริยธรรมบุหรี่กับหลักศาสนาอิสลาม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7700.00

กิจกรรมที่ 3 3.แบ่งกลุ่มกระบวนการคิดและอภิปรายแนวทางการลดนักสูบหน้าใหม่

ชื่อกิจกรรม
3.แบ่งกลุ่มกระบวนการคิดและอภิปรายแนวทางการลดนักสูบหน้าใหม่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

แบ่งกลุ่มกระบวนการคิดและอภิปรายแนวทางการลดนักสูบหน้าใหม่ 1.ค่าอาหารเช้า จำนวน 80 คนๆละ 1 มื้อ ๆ ละ 30 บาทเป็นเงิน 2,400 บาท
3.ค่าอาหารกลางวันพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆละ1 มื้อ ๆ ละ 60 บาทเป็นเงิน 4,800 บาท
4.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 80คนๆละ 1 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
5.ค่าตอบแทนวิทยากรกระบวนการกลุ่ม จำนวน 3 คน ๆ ละ 3ชั่วโมงๆละ 300 บาท เป็นเงิน 2,700 บาท 6.ค่าวัสดุและอุปกร์เป็นเงิน 2,170บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 15 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมได้ใช้กระบวนความคิดแบบกลุ่มและอภิปรายแนวทางการลดนักสูบหน้าใหม่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14070.00

กิจกรรมที่ 4 4.บุคคลต้นแบบที่ไม่ยุ่งเกี่ยวกับบุหรี่/เลิกสูบบุหรี่

ชื่อกิจกรรม
4.บุคคลต้นแบบที่ไม่ยุ่งเกี่ยวกับบุหรี่/เลิกสูบบุหรี่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

บุคคลต้นแบบที่ไม่ยุ่งเกี่ยวกับบุหรี่/เลิกสูบบุหรี่
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆละ 1 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท 2.ค่าตอบแทนวิทยากรบุคคนต้นแบบห่างไกลบุหรี่/เลิกบุหรี่ จำนวน 2 คน ๆ ละ 1 ชั่วโมงๆละ 300 บาท เป็นเงิน 600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 15 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าอบรมได้มีคนต้นแบบที่ไม่ยุ่งเกี่ยวยาเสพติดและแนวทางการเลิกสูบบุหรี่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2600.00

กิจกรรมที่ 5 5.เดินรณรงค์เพื่อลดการเกิดนักสูบหน้าใหม่ และพิษภัยของการสูบบุหรี่

ชื่อกิจกรรม
5.เดินรณรงค์เพื่อลดการเกิดนักสูบหน้าใหม่ และพิษภัยของการสูบบุหรี่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เดินรณรงค์เพื่อลดการเกิดนักสูบหน้าใหม่ และพิษภัยของการสูบบุหรี่ 1.ค่าป้ายเดินรณรงค์ จำนวน 4 ผืน ๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2564 ถึง 15 สิงหาคม 2564
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าอบรมได้ร่วมเดินรณรงค์เพื่อลดการเกิดนักสูบหน้าใหม่ และพิษภัยของการสูบบุหรี่

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 46,470.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เยาวชนที่เริ่มสูบบุหรี่มีจำนวนลดลง
2. เยาวชนที่เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจถึงพิษภัยของการสูบบุหรี่
3. เยาวชนที่อยู่รอบข้างคนสูบบุหรี่มีความรู้ในการป้องกันตนเอง


>