กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสนับสนุนเกลือไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ประจำปี 2564
รหัสโครงการ 64-L4141-01-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.ลำใหม่
วันที่อนุมัติ 21 ธันวาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 พฤศจิกายน 2565
งบประมาณ 16,260.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสูไวบ๊ะ บือราเฮง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.583,101.205place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ภาวะขาดสารไอโอดีน เป็นภาวะโภชนาการที่เกิดขึ้นกับประชากรทั่วโลก และเป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของภาวะปัญญาอ่อนและความเสียหายต่อสมอง การได้รับสารไอโอดีนไม่พอของหญิงตั้งครรภ์จะส่งผลให้เกิดความด้อยของสมองในทารกและเด็ก รวมทั้งสภาพร่างกายแคระแกร็นและมีความเสี่ยงต่อการแท้งบุตรสูง ส่วนเด็กที่ไม่ได้รับสารไอโอดีนเพียงพอ จะมีสมองและร่างกายที่เติบโตช้ากว่าปกติ ซึ่งอาจส่งผลทำให้หยุดการเจริญเติบโตและมีส่วนทำให้ไอคิวของเด็กต่ำลง อาการผิดปกติเหล่านี้เป็นสิ่งที่สามารถป้องกันได้ เพื่อขจัดโรคขาดสารไอโอดีนที่ส่งผลต่อการพัฒนาสติปัญญาของเด็กไทยด้วยการส่งเสริมการบริโภคเกลือไอโอดีนในระดับชุมชนให้ทุกครัวเรือนได้บริโภคเกลือไอโอดีนที่มีคุณภาพอย่างเพียงพอ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสนับสนุนเกลือไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ประจำปี 2564 ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ความรู้เรื่องการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนแก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่ตำบลลำใหม่

ร้อยละ ของกลุ่มเป้าหมาย มีรู้เรื่องการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน

80.00
2 เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด เลือกใช้เกลือหรือผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีนปรุงรส ที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน

ร้อยละ ของกลุ่มเป้าหมาย มีการเลือกใช้เกลือหรือผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีนปรุงรส ที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน

95.00
3 เพื่อป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด

ร้อยละ ของกลุ่มเป้าหมาย ไม่ป่วยเป็นโรคขาดสารไอโอดีน

95.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 60 16,260.00 1 15,600.00
20 ก.ย. 65 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ และรณรงค์เรื่องการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน 60 16,260.00 15,600.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในเขตพื้นที่ตำบลลำใหม่ มีความรู้ เรื่องการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนเพิ่มขึ้น
  2. หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดมีการเลือกใช้เกลือหรือผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีนปรุงรส ที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน
  3. หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดไม่ป่วยเป็นโรคขาดสารไอโอดีน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ม.ค. 2564 14:44 น.