กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมที่ 1.ประชุมทีมอสม.และเครือข่าย ในพื้นที่รับผิดชอบ 23 ก.พ. 2564 16 พ.ย. 2564

 

1.จัดทำป้ายไวนิลโครงการฯ
2.ประชุมทีมอสม.และเครือข่าย ในพื้นที่รับผิดชอบ
สื่อสารความร่วมมือและสร้างความเข้าใจในการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (covid 19) 1.2) จัดตั้งทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคฯระดับหมู่บ้าน หมู่บ้าน ละ  1  ทีม เพื่อให้หมู่บ้านมีการดำเนินการเฝ้าระวังโรคเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมรับสถานการณ์ตลอดเวลา 1.3) จัดทำมาตรการการเฝ้าระวัง ตามแนวทางการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (covid 19) เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติในการเฝ้าระวังควบคุมโรคที่ถูกต้อง ตามหลักวิชาการการระบาด 1.4) สอบถามปัญหา พร้อมสำรวจจำนวนความต้องการใช้เครื่องมือ/วัสดุ ที่จำเป็นต้องใช้ในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (covic 19) เพื่อเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติงาน

 

1.มีป้ายไวนิล ประชาสัมพันธ์โครงการฯ 2.พื้นที่รับผิดชอบ 2 หมู่บ้าน มีทีมเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคฯระดับหมู่บ้านโดยเครือข่ายมีส่วนร่วมและสามารถปฏิบัติตามมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (covic 19) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จำนวน 2 ทีม

 

กิจกรรมที่ 2.สำรวจข้อมูลพื้นฐานพื้นที่เป้าหมายในชุมชน 2 มี.ค. 2564 4 มี.ค. 2564

 

lสำรวจประชาชน พื้นที่เป้าหมายเสี่ยง ที่ประชาชนมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อประเมินเฝ้าระวังความเสี่ยงตามแนวทางมาตรการควบคุม ป้องกันโรคติดเชื้อ COVID 19

 

ทะเบียนพื้นที่เป้าหมายเสี่ยงในเขตพื้นที่ หมู่ 9 บ้านราษฎร์พัฒนา หมู่ 10 ต.มาโมง -ศพด.  1  แห่ง  รร.ตาดีกา  1  แห่ง  มัสยิด  1  แห่ง  กลุ่มออมทรัพย์  2  แห่ง  ร้านชำ  6  ร้าน

ทะเบียนประชาชนกลุ่มเป้าหมายเสี่ยง  จำนวน 50 คน   กลุ่มผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง  จำนวน  41  คน   (หมู่ 9 ราษฎร์พัฒนา 16 คน , หมู่ 10 สามซอย  25  คน)   -กลุ่มหญิงตั้งครรภ์                        จำนวน    9  คน
    (หมู่ 9 ราษฎร์พัฒนา 2 คน , หมู่ 10 สามซอย  7  คน)

 

กิจกรรมที่ 3.พื้นที่เป้าหมายเสี่ยงประเมินตนเองตามมาตรการ การเฝ้าระวังการป้องกันควบคุมโรคไวรัสโคโรน่า (covic 19) 4 มี.ค. 2564 23 เม.ย. 2564

 

พื้นที่เป้าหมายเสี่ยงประเมินตนเองตามมาตรการในการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า

 

ผลการประเมิน สถานที่ผ่านตามเกณฑ์ประเมิน -ศพด.  1  แห่ง
-รร.ตาดีกา  1  แห่ง
- มัสยิด  1  แห่ง
-กลุ่มออมทรัพย์  2  แห่ง
ไม่ผ่านตามเกณฑ์ประเมิน -ร้านชำ  2  ร้าน  ไม่ผ่าน 4  ร้าน

 

กิจกรรมที่ 4.จัดซื้อ วัสดุ/เครื่องมือ ในการปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรค 15 มี.ค. 2564 5 พ.ย. 2564

 

ซื้อ วัสดุ/เครื่องมือ ในการควบคุม ป้องกันโรค สนับสนุนให้พื้นที่และกลุ่มเป้าหมายเสี่ยง (สนับสนุน/หมู่บ้าน/มัสยิด/ศพด/ตาริกา)
ประชากรกลุ่มเป้าหมายเสี่ยง  รวมทั้งสิ้น  จำนวน  50  คน ดังนี้   -กลุ่มผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง  จำนวน  41  คน   -กลุ่มหญิงตั้งครรภ์                        จำนวน    9  คน
  ดังนี้ - หน้ากากอนามัย      จำนวน 50 กล่อง  X 125 บาท  เป็นเงิน      6,250  บาท - เจลแอลกอฮอล์  ขนาด 450 ml จำนวน 20 ขวด  X 250 บาท    เป็นเงิน      5,000  บาท    - โทโมมิเตอร์วัดไข้แบบดิจิทัล      จำนวน  5 เครื่อง  X 3,000 บาท  เป็นเงิน  15,000  บาท

 

สถานที่ที่เป็นพื้นที่เสี่ยงและกลุ่มประชากรเป้าหมายเสี่ยง มีเครื่องมือใช้ในการดูแลป้องกัน ตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า

 

กิจกรรมที่ 5สร้างเครื่องมือ เพื่อประเมินความรู้และพฤติกรรมในการ ป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า 2019 22 มี.ค. 2564 6 ก.ค. 2564

 

จัดซื้อวัสดุสำนักงานเพื่อทำแบบประเมินความรู้และทดสอบสุขภาพจิต

 

ได้แบบประเมินความรู้และทดสอบสุขภาพจิต สำหรับนำไปใช้ประเมินกลุ่มเป้าหมาย

 

กิจกรรมที่ 8.ทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคฯระดับหมู่บ้าน ดำเนินการเฝ้าระวังตามมาตรการ 7 เม.ย. 2564 8 ธ.ค. 2564

 

ทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคฯระดับหมู่บ้าน ดำเนินการเฝ้าระวังตามแนวทางมาตรการคสั่ง ศบค.พื้นที่อำเภอ -ผู้เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง กักตัว 14 วัน -ผู้สัมผัสเสี่ยงสูง              กักตัว 14 วัน

 

การดำเนินการเฝ้าระวังตามแนวทางมาตรการควบคุมป้องกันโรค -ผู้เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง กักตัว 14 วัน  จำนวน    9  หลังคาเรือน (22 คน) -ผู้สัมผัสเสี่ยงสูง              กักตัว 14 วัน  จำนวน  11  หลังคาเรือน (41 คน)

 

กิจกรรมที่ 6.ทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคฯระดับหมู่บ้าน ลงสำรวจและประเมินโดยใช้เครื่องมือแบบสอบถาม 19 เม.ย. 2564 8 ธ.ค. 2564

 

ทีมเฝ้าระวังควบคุมโรคฯระดับหมู่บ้าน ลงสำรวจและประเมินโดยใช้เครื่องมือแบบสอบถาม แบบประเมินความรู้และแบบทดสอบสุขภาพจิต เป้าหมาย 630 คน

 

-ประชาชนร้อยละ  85.56  มีความรู้สามารถปรับตัวเข้ากับวิถีการดำรงชีวิตแบบใหม่เพื่อให้ปลอดภัยจากการติดเชื้อ ไวรัสโคโรน่า (co-vid 19) -การประเมินแบบทดสอบสุขภาพจิตประชาชน ร้อยละ 88.73 มีความกังวลเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในช่วงกักตัว ส่งผลต่อภาวะความเครียดของคนในครอบครัว

 

กิจกรรมที่ 7. สรุปผลการประเมิน/คืนข้อมูลให้ประชาชนทราบ 3 พ.ค. 2564 8 ธ.ค. 2564

 

สรุปผลการประเมินตามแนวทางมาตรการ การเฝ้าระวังควบคุม ป้องกันโรคในสถานที่/พื้นที่เสี่ยง ให้เครือข่าย/ประชาชนทราบ โดยสื่อสารผ่านผู้ใหญ่บ้าน อสม.ในพื้นที่

 

เครือข่าย/ประชาชนรับทราบข้อมูลและดำเนินการปรับปรุงสถานที่ที่มีการปฏิบัติไม่ถูกหลัก ตามแนวทางมาตรการที่กำหนด

 

กิจกรรมที่ 9.สรุปรายงาน ประเมินผลโครงการฯ 29 มิ.ย. 2564 8 ธ.ค. 2564

 

สรุปรายงานผลตามกิจกรรมและรายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณตามแนวทางที่กองทุนฯกำหนด

 

รายงานฉบับสมบูรณ์  จำนวน 1 เล่ม