กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการกำจัดเหาในเด็ก
รหัสโครงการ 60-L5272-3-10
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชนบ้านเหนือ
วันที่อนุมัติ 31 พฤษภาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 6,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางฝะติมะบินอาหวา
พี่เลี้ยงโครงการ คุณดวงใจอ่อนแก้ว
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคูเต่า อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.133,100.481place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 51 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มวัยทำงาน 56 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสิ่งหนึ่งที่ครูพบบ่อยที่สุดคือโรคเหาเมื่อไข่เหาและตัวเหาอาศัยอยู่ที่ผมและหนังศีรษะจะทำให้เด็กๆคันถ้าเกามากๆจะทำให้เกิดแผลถลอกที่หนังศีรษะซึ่งเป็นสาเหตุให้เด็กขาดสมาธิในการเรียนรู้และการทำกิจกรรมต่างๆ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อกำจัดและป้องกันการเกิดเหาในเด็กเล็ก

 

2 เพื่อให้เด็กครูผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีการกำจัดเหาและการรักษาความสะอาดหนังศีรษะได้อย่างถูกต้อง

 

3 เพื่อให้ครู ผู้ปกครองนำความรู้เรื่องการกำจัดเหาไปใช้ในชีวิตประจำวัน

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.จัดกิจกรรมแนะนำความรู้ให้ผู้ปกครองเกี่ยวกับวิธีการกำจัดเหาและป้องกัน 2.ครูจัดกิจกรรมให้เด็กในศูนย์ฯเดือนละ 2 ครั้ง(สัปดาห์ที่ 2 และสัปดาห์ที่ 4) 3.ตรวจสุขภาพเด็กทุกวัน 4.จัดทำแบบบันทึกผล 5.รายงานผลการดำเนินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็ก ครูผู้ดูแลเด็กผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการเกิดเหาในเด็ก 2.เด็ก ครูผู้ดูแลเด็กผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีการกำจัดเหาและการรักษาความสะอาดหนังศีรษะได้อย่างถูกต้อง 3.ครูผู้ปกครองสามารถนำความรู้เรื่องการกำจัดเหาไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 ก.ค. 2560 14:33 น.