กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการลดเสี่ยงโรคเรื้อรัง
รหัสโครงการ 64-L8287-1-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุข อบต.เทพา
วันที่อนุมัติ 1 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 266,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายกาดาฟี หะยีเด
พี่เลี้ยงโครงการ นายธนพล จรสุวรรณ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1000 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละ อสม.มีความรู้ในการใช้อุปกรณ์การตรวจคัดกรองสุขภาพ
70.00
2 ร้อยละประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
40.00
3 ร้อยละประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีองค์ความรู้ในการป้องกันโรคและมีความรู้ในการดูแลตนเองเมื่อป่วยและลด ภาวะแทรกซ้อน
60.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุขที่มีความทันสมัย อีกทั้งการเปลี่ยนแปลงอัน เกิดจากนโยบายการพัฒนาประเทศของรัฐบาลในแต่ละยุคแต่ละสมัย ตลอดจนการเข้าถึงบริการของรัฐยาม เจ็บป่วยของประชาชนที่เสมอภาคและเท่าเทียมกันในโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทำให้สถานภาพด้าน สุขภาพและแบบแผนพฤติกรรมการเจ็บป่วยของประชาชนเปลี่ยนไป ดังจะเห็นได้จากการเจ็บป่วยด้วย โรคติดต่อที่เกิดจากตัวเชื้อโรค สิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมและสุขวิทยาส่วนบุคคลมีแนวโน้มลดลง แต่การ เจ็บป่วยด้วยโรคที่ไม่ติดต่ออันเกี่ยวเนื่องมาจากพฤติกรรมและวิถีชีวิตกลับมีแนวโน้มสูงขึ้น เช่น การเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวานและอุบัติเหตุ ที่มีอัตราการเกิดโรคเพิ่มสูงขึ้นและเป็นสาเหตุ การตายในอันดับต้นๆ ของประเทศ
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจาก ปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การ รับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม จากข้อมูลHDC ในปี ๒๕๖๒-๒๕๖๔ ตำบลเทพามีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จำนวน ๓๖, ๖๔ และ ๕๔ ราย ตามลำดับ มีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน ๗๓๘, ๑,๑๙๐ และ ๑๗๖ ตามลำดับมีกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน ๑,๐๕๙, ๕๖๗ และ ๖๒๖ ตามลำดับ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลเทพาจึงได้จัดทำโครงการลดเสี่ยงโรคเรื้อรัง ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้อสม.มีความรู้ในการใช้อุปกรณ์การตรวจคัดกรองสุขภาพและเพื่อให้ประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงรวมทั้งเพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีองค์ความรู้ในการป้องกันโรคและมีความรู้ในการดูแลตนเองเมื่อป่วยและลด ภาวะแทรกซ้อน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้อสม.มีความรู้ในการใช้อุปกรณ์การตรวจคัดกรองสุขภาพ

ร้อยละ 90 อสม.สามารถใช้อุปกรณ์การตรวจคัดกรองสุขภาพ

65.00 90.00
2 2.เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละ 90 ประชาชนเขตตำบลเทพาได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง

50.00 90.00
3 3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีองค์ความรู้ในการป้องกันโรคและมีความรู้ในการดูแลตนเองเมื่อป่วยและลดภาวะแทรกซ้อน

ร้อยละ 85ประชาชนเขตอบต.เทพามีองค์ความรู้ในการป้องกันโรคและมีความรู้ในการดูแลตนเองเมื่อป่วยและลดภาวะแทรกซ้อน

65.00 85.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 776 266,600.00 4 266,123.00
1 มี.ค. 64 - 31 พ.ค. 64 กิจกรรมการอบรมการใช้อุปกรณ์การตรวจคัดกรองสุขภาพ 0 7,350.00 7,323.00
1 มี.ค. 64 - 31 พ.ค. 64 กิจกรรมการตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง 0 214,450.00 214,000.00
1 มี.ค. 64 - 31 พ.ค. 64 กิจกรรมติดตามเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิดสูง รายกลุ่ม 0 44,800.00 44,800.00
1 มี.ค. 64 - 30 เม.ย. 64 กิจกรรมสร้างแรงจูงใจ และการให้คำปรึกษารายบุคคล 776 0.00 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.อสม.มีความรู้ในการใช้อุปกรณ์การตรวจคัดกรองสุขภาพ ๒.ประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ๓.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีองค์ความรู้ในการป้องกันโรคและมีความรู้ในการดูแลตนเองเมื่อป่วยและลด ภาวะแทรกซ้อน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 ก.พ. 2564 13:47 น.