กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
รหัสโครงการ 64-L8008-01-13
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสตูล
วันที่อนุมัติ 28 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 73,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวกฤษณา ละอองสุวรรณ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในทุกกลุ่มอายุ 2. เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาย และยุงลายพาหะนำโรคในบ้าน ชุมชน โรงเรียน 3. เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจาก โรคไข้เลือดออก

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 73,300.00 0 0.00
1 ก.พ. 64 - 30 ก.ย. 64 1. จัดสัปดาห์รณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก กิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง ทำความสะอาด ในชุมชนและให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก 0 21,800.00 -
1 ก.พ. 64 - 30 ก.ย. 64 2. จัดประชุมคณะทำงาน อสม. และเจ้าหน้าที่ติดตามการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน 2 ครั้ง 0 1,500.00 -
1 ก.พ. 64 - 30 ก.ย. 64 จัดซื้อเคมีภัณฑ์ 0 50,000.00 -
  1. จัดทำโครงการเพื่อเสนอหน่วยงาน
  2. จัดหา จัดเตรียม วัสดุอุปกรณ์  แบบรายงาน  ให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน
  3. ประสานงานกับชุมชน  โรงเรียน  และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
  4. ดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออก แบ่งเป็น  2  ระยะ ระยะที่ 1 การป้องกันโรคไข้เลือดออกช่วงระยะก่อนการระบาด คือ เดือนตุลาคม - มีนาคม  จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ อสม.
     สำรวจหาค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ ทุกเดือน
     ให้สุขศึกษาแก่ประชาชน  รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
    ระยะที่ 2  การป้องกันโรคไข้เลือดออกช่วง ระบาด คือ เดือน เมษายน - กันยายน
     สำรวจหาค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์  โดยดำเนินการดังนี้
    • ทุก 15 วัน ทุกหลังคาเรือน  ในพื้นที่พบผู้ป่วยซ้ำซาก  โดย  อสม.

- ทุกเดือน  ทุกหลังคาเรือน  ในพื้นที่ปกติ          โดย  อสม.
- ในพื้นที่รัศมี 100 เมตร จากบ้านผู้ป่วย          โดย  จนท.  ให้สุขศึกษาแก่ประชาชน  รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
      - นัดวันเวลารณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
      - ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายและหอกระจายข่าวชุมชนพร้อมทั้งสื่อต่าง ๆ  พ่นสารเคมีฆ่ายุงตัวแก่ในรัศมี 100 เมตร จากบ้านผู้ป่วยให้ทันเวลา ตามระยะเวลาการควบคุมโรค
 ค้นหาผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ส่งต่อเพื่อรับการรักษา

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อัตราการเกิดโรคลดลง และสามารถควบคุมโรคได้ในเวลาอันสั้น
  2. ประชาชนทุกกลุ่มอายุ ตระหนักและเห็นความสำคัญของการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
      ด้านการควบคุมพาหะ ด้านสิ่งแวดล้อม และการป้องกันโรค
    1. สามารถเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างองค์กร ผู้นำชุมชน และโรงเรียน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ก.พ. 2564 10:13 น.