กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายสไตล์รองเง็งเพื่อพัฒนาสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุ
รหัสโครงการ 64-L8008-03-15
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลเมืองสตูล
วันที่อนุมัติ 28 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 15,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสมคิด นวลขาว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมสมรรถภาพร่างกายที่แข็งแรงแก่ผู้สูงอายุ 2. เพื่อส่งเสริมความสุขใน 5 ด้าน ด้วย คือ ความสุขทางกาย ความสุขทางจิต ความสุขทางอารมณ์ ความสุขทางจิตวิญญาณ และความสุขทางสังคม

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 15,000.00 0 0.00
1 ก.พ. 64 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมออกกำลังกาย 0 15,000.00 -
  1. เขียนโครงการของบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล
  2. ดำเนินการ
    2.1 แต่งตั้งคณะทำงานอนุรักษ์วัฒนธรรมการเต้นรองเง็ง
    2.2 ออกแบบท่าเต้นรองเง็งประยุกต์ที่มีความเหมาะสมกับผู้สูงอายุ
    2.3 ประสานวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถในการเต้นรองเง็ง 2.4 จัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องเสียง และสถานที่ออกกำลังกายที่มีความเหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ 2.5 ประชาสัมพันธ์โครงการเชิญชวนผู้สูงอายุที่สนใจ 2.6 สรุปและประเมินผลโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่แข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายที่ได้มาตรฐาน   2.ผู้สูงอายุได้รับความสุขทั้ง 5 ด้าน ด้วย คือ ความสุขทางกาย ความสุขทางจิต ความสุขทางอารมณ์ ความสุขทางจิตวิญญาณ และความสุขทางสังคม

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ก.พ. 2564 10:42 น.