กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2564

รหัสโครงการ 64-L3070-1-2 รหัสสัญญา 5/2564 ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

จากสถานการณ์ข้อมูลการคัดกรองบุหรี่ในกลุ่มประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ในจังหวัดปัตตานี ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561-2563 พบว่า ร้อยละของการคัดกรองบุหรี่ในกลุ่มประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 19.18,18.20,21.74 ตามลำดับ ในอำเภอหนองจิก ตั้งเเต่ปีงบประมาณ 2561-2563 พบว่า ร้อยละของการคัดกรองบุหรี่ในกลุ่มประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 5.30,13.88,16.39 ตามลำดับ ในพื้นที่ตำบลยาบี ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2561-2563 พบว่า ร้อยละของการคัดกรองบุหรี่ในกลุ่มประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 6.96,5.29,26.39,ตามลำดับ (แหล่งข้อมูลจาก HDC จังหวัดปัตตานี ณ 18 ธันวาคม 2563) ซึ่งแนวโน้มการคัดกรองบุหรี่ในกลุ่มประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงวางไว้ และจากการสำรวจข้อมูลของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มารับยาจาก รพ.สต.ยาบี ทั้งหมด 45 ราย มีพฤติกรรมที่สูบบุหรี่/ใบจาก จำนวน 12 ราย คิดเป็นร้อยละ 26.67%

แหล่งที่มาของข้อมูลจากการสำรวจในคลินิกโรคเรื้อรัง รพ.สต.ยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

1.ประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานโครงการ แก่ อสม.,แกนนำชุมชน/ผู้นำศาสนา,แกนนำครูและนักเรียน

2.ให้ความรู้เรื่องบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่ให้กับกลุ่มเสี่ยงที่มีพฤติกรรมการสูบบุหรี่และใบจาก

3.ตรวจสุขภาพและคัดกรองพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในกลุ่มเป้าหมายประชาชนที่มีพฤติกรรมการสูบบุหรี่และใบจาก

4.ติดตามเยี่ยมบ้านในกลุ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลด ละ เลิกบุหรี่โดย อสม.ติดตามเดือนละ 1 ครั้ง

5.จัดเวทีถอดบทเรียน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้/คัดเลือกบุคคลต้นแบบด้านพฤติกรรมที่สามารถเลิกบุหรี่ได้สำเร็จ

6.สรุปและประเมินผลการจัดโครงการ

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

1.กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและพิษภัยของบุหรี่และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลด ละ เลิก
บุหรี่แก่อสม. จำนวน 38 คน
(กิจกรรมย่อย:สร้างแกนนำ อสม. หมู่บ้านละ 2 คน เพื่อติดตามเยี่ยมบ้านในกลุ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลด ละ เลิกบุหรี่)

2.กิจกรรมชี้แจงและให้ความรู้ในการขับเคลื่อนการดำเนินงานบุหรี่ในชุมชน ร้านค้า และมัสยิด ให้กับกลุ่มผู้นำชุมชน และผู้นำศาสนา หมู่ละ 6 คน จำนวน 6 หมู่บ้าน จำนวน 36 คน (กิจกรรมย่อย: ติดตาม สำรวจร้านค้า/ร้านชำในชุมชน และสังเกตการณ์มัสยิดโดยผู้นำชุมชน และผู้นำศาสนา)

3.กิจกรรมชี้แจงและให้ความรู้ในการขับเคลื่อนการดำเนินงานบุหรี่และยาเสพติดในโรงเรียน ให้กับครูและนักเรียน จำนวน 3 แห่งๆละ 20 คน จำนวน 60 คน (กิจกรรมย่อย:สร้างแกนนำครู เพื่อสังเกตการณ์พร้อมเฝ้าระวังนักเรียนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงในการสูบบุหรี่และใช้ยาเสพติด โรงเรียนละ 2 คน) หมายเหตุ:โรงเรียน 3 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนบ้านคลองช้าง โรงเรียนบ้านยาบี และโรงเรียนยาบีบรรณวิทย์

4.กิจกรรมให้ความรู้เรื่องบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่ในชุมชน และตรวจคัดกรองพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปที่สูบบุหรี่/ใบจากจำนวน 50 คน

5.ติดตามเยี่ยมบ้านในกลุ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลด ละ เลิกบุหรี่โดย อสม.จำนวน 12 คน (6 หมู่บ้านๆละ 2คน) ติดตาม เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 3 เดือน

6.จัดเวทีถอดบทเรียน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดย -แกนนำ อสม. จำนวน 12 คน - แกนนำครู จำนวน 6 คน -ผู้นำชุมชน/ผู้นำศาสนา จำนวน 12 คน -บุคคลต้นแบบ (คนที่เลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ) จำนวน 10 คน -เจ้าหน้าที่กองทุนฯ จำนวน 10 คน

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ
(คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตรการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

-

-

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

พักผ่อนให้เพียงพอ ทานอาหารให้เพียงพอและถูกสุขอนามัย ออกกำลังกายสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ติดต่อกับครอบครัวและเพื่อนฝูงอย่างต่อเนื่องอาจลองทำงานอดิเรกใหม่ ๆ ที่ไม่เคยทำมาก่อน

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ทานอาหารให้เพียงพอและถูกสุขลักษณะอนามัย

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

ติดต่อกับครอบครัวและเพื่อนฝูงอย่างต่อเนื่องอาจลองทำงานอดิเรกใหม่ ๆ ที่ไม่เคยทำมาก่อน

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ติดต่อกับครอบครัวและเพื่อนฝูงอย่างต่อเนื่องอาจลองทำงานอดิเรกใหม่ ๆ ที่ไม่เคยทำมาก่อน

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

-

-

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

มีการตรวจสุขภาพและคัดกรองพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในกลุ่มเป้าหมายประชาชนที่มีพฤติกรรมการสูบบุหรี่และใบจากจากเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ยาบี

คลินิกโรคเรื้อรัง รพ.สต.ยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

-

-

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

-

-

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่าง รพ.สต.ยาบีผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปในตำบลยาบี

1.ปะชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

1.ประชุมชี้เเจงรายละเอียดการดำเนินงานโครงการ แก่อสม. แกนนำชุมชน/ผู้นำศาสนา แกนนำครูและนักเรียน

2.ให้ความรู้เรื่องบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่ให้กับกลุ่มเสี่ยงที่มีพฤติกรรมการสูบบุหรี่และใบจาก

3.ตรวจสุขภาพและคัดกรองพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในกลุ่มเป้าหมายประชาชนที่มีพฤติกรรมการสูบบุหรี่และใบจาก

4.ติดตามเยี่ยมบ้านในกลุ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลด ละ เลิกบุหรี่โดยอสม.ติดตามเดือนละ 1 ครั้ง

5.จัดเวทีถอดบทเรียน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้/คัดเลือกบุคคลต้นแบบด้านพฤติกรรมที่สามารถเลิกบุหรี่ได้สำเร็จ

6.สรุปและประเมินผลการจัดโครงการ

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นเเบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตาตราการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

-

-

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

เป็นโครงการที่จะหาแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาสำหรับผู้ที่สูบบุหรี่หรือกลุ่มเสี่ยงที่จะมีโอกาสไปเป็นนักสูบบุหรี่รายใหม่ในเด็กและเยาวชน ประชาชนทั่วไป และเป็นการสนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุขข้อ10(1) ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561

1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองการสูบบุหรี่และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิกบุหรี่

2.มีบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ (คนเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ)

3.ผู้นำศาสนา อสม.และกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่

4.เกิดมาตราการทางสังคมหรือมีกฏกติกาในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

-

-