กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงานการคัดกรองและการบำบัดบุหรี่ของประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ในตำบลยาบี ปีงบประมาณ 2562 ผลการคัดกรอง 145 คน (5.29%) คนไม่เคยสูบ 90 คน (62.07%) คนที่เคยสูบแล้ว 21 คน (14.48%) คนที่สูบอยู่ปัจจุบัน 34 คน (23.45%) เข้าร่วมโครงการบุหรี่และเข้ารับการบำบัดรักษา 25 คน (73.53%) ปีงบประมาณ 2563 ผลการคัดกรอง 735 คน (27.32%) คนไม่เคยสูบ 575 คน (78.23%) คนที่เคยสูบแล้ว 52 คน (7.07%) คนที่สูบอยู่ปัจจุบัน 108 คน (14.69%) คนที่เข้าร่วมโครงการบุหรี่และรับการบำบัดรักษา 103 คน (95.37%) ปีงบประมาณ 2564 ผลการคัดกรอง 69 คน (2.52%) คนที่ไม่เคยสูบ 46 คน (66.67%) คนที่เคยสูบแล้ว 12 คน (17.39%) คนที่สูบอยู่ปัจจุบัน 11 คน (15.94%) คนที่เข้าร่วมโครงการบุหรี่และรับการบำบัดรักษา 6 คน (54.54%) ปีงบประมาณ 2565 ผลการคัดกรอง 2287 คน(86.04%) คนไม่เคยสูบ 1499 (65.54%) คนที่่เคยสูบแล้ว 136 คน(5.95%) คนที่สูบอยู่ปัจจุบัน 652 คน (28.5%) คนเข้าร่วมโครงการบุหรี่และรับการบำบัดรักษา 50 คน (100%) ผลการดำเนินงานเข้ารับการบำบัดรักษาบุหรี่ของประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ในตำบลยาบี ปีงบประมาณ 2562 คนเข้ารับการบำบัด 25 คน (73.53%) ให้คำปรึกษา 34 คน (100%) จ่ายยาชาชงหญ้าดอกขาว 20 คน (58.82%) ใช้มะนาว 14 คน (41.18%) ลดปริมาณ 11 คน เลิกสูบบุหรี่ 6 คน เท่าเดิม 17 คน ปีงบประมาณ 2563 คนเข้ารับการบำบัด 103 คน(95.37%) ให้คำปรึกษา 108 คน (100%) จ่ายยาชาชงหญ้าดอกขาว 32 คน (29.63%) ใช้มะนาว 53 คน (49.07%) ลดปริมาณ 24 คน เลิกบุหรี่ 12 คน เท่าเดิม 72 คน ปีงบประมาณ 2564 คนเข้ารับการบำบัด 6 คน (54.54%) ให้คำปรึกษา 11 คน (100%) จ่ายยาชาชงหญ้าดอกขาว 5 คน (45.45%) ใช้มะนาว 3 คน (27.27%) ลดปริมาณ 4 คน เลิกบุหรี่ 2 คน เท่าเดิม 5 คน ปีงบประมาณ 2565 คนเข้ารับการบำบัด 50 คน (100%) ให้คำปรึกษา 50 คน (100%) จ่ายยาชาชงหญ้าดอกขาว 26 คน (52.00%) ใช้มะนาว 18 คน (36.00%) ลดปริมาณ 17 คน (34.00%) เลิกบุหรี่ 5 คน (10.00%) เท่าเดิม 28 คน (56.00%)

ปัญหาและอุปสรรคในการแก้ไข 1.กลุ่มเสี่ยงที่เข้ารับการบำบัดมาไม่ต่อเนื่อง เนื่องจากทำงานไปเช้า-เย็นกลับ 2.กลุ่มเสี่ยงที่มีคะแนนประเมินอยู่ในระดับกลุ่มสีแดง การบำบัดต้องใช้เวลาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3.ในการจ่ายยาชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาว จะไม่ให้ทุกราย ให้เฉพาะคนที่ไม่มีความเสี่ยง 4.การคัดกรองกลุ่มเสี่ยงยังไม่ผ่านเกณฑ์

แนวทางในการแก้ไข 1.จนท.ติดตามโดยการโทร /อสม.ติดตามในชุมชนละแวกตนเอง 2.ให้กำลังใจ และนำกลุ่มครอบครัวมาบำบัด และติดตามอย่างต่อเนื่อง 3.ให้กำลังใจ และนำกลุ่มครอบครัวมาบำบัด และติดตามอย่างต่อเนื่อง 4.คัดกรองกลุ่มเสี่ยงให้ครอบคลุมในชุมชน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบุหรี่และโทษของพิษภัยบุหรี่ที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่ ร้อยละ 85
85.00 100.00

 

2 ๒. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการตรวจคัดกรองพฤติกรรมการสูบบุหรี่ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลด ละ เลิก บุหรี่ได้
ตัวชี้วัด : 2.1 กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจคัดกรองพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ร้อยละ 100 2.2 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลด ละ เลิก (ด้านบุหรี่ได้สำเร็จ) ร้อยละ 10
100.00 100.00

 

3 ๓. เพื่อให้มัสยิด วัด โรงเรียนเป็นสถานที่ปลอดเขตบุหรี่
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละของมัสยิด วัด โรงเรียน เป็นสถานที่ปลอดเขตบุหรี่ ร้อยละ 100
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 194 194
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60 60
กลุ่มวัยทำงาน 84 84
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบุหรี่และโทษของพิษภัยบุหรี่ที่ถูกต้อง (2) ๒. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการตรวจคัดกรองพฤติกรรมการสูบบุหรี่ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลด ละ เลิก บุหรี่ได้ (3) ๓. เพื่อให้มัสยิด วัด โรงเรียนเป็นสถานที่ปลอดเขตบุหรี่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษและพิษภัยของบุหรี่และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลด ละ เลิก บุหรี่ (2) 2.กิจกรรมชี้แจงและให้ความรู้ในการขับเคลื่อนการดำเนินงานบุหรี่ (3) 3.กิจกรรมชี้แจงและให้ความรู้ในการขับเคลื่อนการดำเนินงานบุหรี่และยาเสพติดในโรงเรียน (4) 4.กิจกรรมให้ความรู้เรื่องบุหรี่และโทษพิษภัยของบุหรี่ในชุมชน และตรวจคัดกรองพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในกลุ่มเสี่ยงประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปที่สูบบุหรี่/ใบจาก (5) 5. ติดตามเยี่ยมบ้านในกลุ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลด ละ เลิกบุหรี่ (6) จัดเวทีถอดบทเรียน/แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh