กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนในสถานศึกษา (02-19)
รหัสโครงการ 64-l4123-02-19
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนนิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ 6
วันที่อนุมัติ 9 กุมภาพันธ์ 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2564 - 31 ตุลาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 31 ธันวาคม 2564
งบประมาณ 24,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวพิมล สยมภาค
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 42 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) การพัฒนาชาติที่สำคัญ คือการพัฒนาคนให้มีคุณภาพ มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ ตลอดจนมีความสามารถในการเรียนรู้ เพื่อให้มีศักยภาพสูงสุด อันจะเป็นปัจจัยหลักในการพัฒนาชาติอย่างยั่งยืน อันดับแรกของการพัฒนาคนคือ การพัฒนาด้านสุขภาพอนามัย เพราะเป็นพื้นฐานของพัฒนาการด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา ตลอดจนคุณธรรมและจริยธรรมของนักเรียนต่อไป โรงเรียนนิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ 6 เป็นโรงเรียนที่เปิดทำการเรียนการสอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปิดทำการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 2 – ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีจำนวนนักเรียนทั้งสิ้น 82 คน ซึ่งนักเรียนส่วนใหญ่ มีฐานะยากจน มีความขาดแคลน เป็นนักเรียนด้อยโอกาส และร่างกายเจริญเติบโตไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานซึ่งจากข้อมูลนักเรียนที่มีน้ำหนักส่วนสูงเทียบเกณฑ์มาตรฐาน ประจำเดือนธันวาคม สรุปได้ดังนี้
1) น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง นักเรียน สมส่วน จำนวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 78.05
2) น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง นักเรียน ค่อนข้างผอม จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2.44 3) น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง นักเรียน ผอม จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 3.66 4) น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง นักเรียน ท้วม จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 6.10
5) น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง นักเรียน เริ่มอ้วน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 7.31
6) น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง นักเรียน อ้วน จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1.22 7) ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ นักเรียน ค่อนข้างสูง จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 8) ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ นักเรียน สูง จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 9) ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ นักเรียน สูงตามเกณฑ์ จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 36.59 10) ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ นักเรียน ค่อนข้างเตี้ย จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 12.20 11) ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ นักเรียน เตี้ย จำนวน จำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 51.22 จากข้อมูลข้างต้น โรงเรียนนิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ 6ได้เล็งเห็นความสำคัญในการส่งเสริมนักเรียนที่มีภาวะ ทุพโภชนาการ โดยการจัดอาหารเสริมเพิ่มเติมให้กับนักเรียนที่มีน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง ผอมและค่อนข้างผอม จำนวน 42 คนในภาคเรียนที่ 2/2563 และ 34 คน ในภาคเรียนที่ 1/2564เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง สมส่วนตามเกณฑ์มาตรฐาน และสุขภาพอนามัยที่ดี มีความพร้อมที่จะได้รับการพัฒนาให้เป็นคนที่มีคุณภาพต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อจัดซื้ออาหารเสริมให้กับนักเรียนนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ในภาคเรียนที่ 2/2563 จำนวน 42 คน เป็นเวลา 19 วัน ภาคเรียนที่ 1/2564 จำนวน 34 คน เป็นเวลา 13 วัน

ร้อยละ 80 ของนักเรียน ที่มีภาวะทุพโภชนาการ                  มีน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง สมส่วน

100.00 80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 24,800.00 1 24,800.00
1 มี.ค. 64 - 31 ต.ค. 64 จัดอาหารเสริมแก้ปัญหาภาวะ ทุพโภชนาการของนักเรียน 0 24,800.00 24,800.00

วิธีการดำเนินการ 1. ขั้นตอนวางแผน - ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ - แต่งตั้งครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ปฏิบัติงานตามแผนโครงการ 2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 3. ขั้นตอนการดำเนินงาน - ดำเนินตามโครงการจัดสรรอาหารเสริมให้กลุ่มเป้าหมาย 4. ติดตามและประเมินผลน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง และส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ ทุกเดือน เพื่อประเมินพัฒนาการ 5. สรุปผลการดำเนินงาน และ รายงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ได้รับอาหารเสริมทุกวัน
2. นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการที่มีน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง สมส่วน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 ก.พ. 2564 15:53 น.