กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ย่านซื่อ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพดี วิถีมุสลิม ”

ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอาหมาด ดาหมาด นายรอหิม หลงสมัน นายอับดลฆอนี รูบามา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพดี วิถีมุสลิม

ที่อยู่ ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L8407-64-02-15 เลขที่ข้อตกลง 15/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มีนาคม 2564 ถึง 14 กรกฎาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพดี วิถีมุสลิม จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ย่านซื่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพดี วิถีมุสลิม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพดี วิถีมุสลิม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L8407-64-02-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มีนาคม 2564 - 14 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ย่านซื่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คุณภาพชีวิตดีเป็นเป้าหมายหลักของสังคมคือประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีทั้งร่างกายและจิตใจทุกเพศทุกวัยจากการศึกษาข้อมูลพบว่าประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั้งด้านปริมาณและสัดส่วนต่อประชากร จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔) กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดนโยบายให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรงตามวัยขยายโอกาสดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่าดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมมือกันอย่างจริงจังและต่อเนื่องในการเตรียมความพร้อมให้ผู้สูงอายุตลอดจนบุคคลในครอบครัวและชุมชน จากข้อมูลประชากรศึกษาพบว่าจำนวนและสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุมีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประเทศไทยมีแนวโน้มเป็นสังคมผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น จากจำนวนประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นเช่นนี้เนื่องจากการพัฒนาทางการแพทย์และสาธารณสุขทำให้อัตราตายลดลงผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้นแต่ขณะเดียวกันผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบจากภาวะเสื่อมถอยของร่างกายตามวัยทำให้เสี่ยงต่อโรคเรื้อรังและอุบัติเหตุทำให้ผู้สูงอายุเกิดภาวะพึ่งพาไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ทำให้เป็นภาระแก่ผู้ดูแลอาจเป็นทุพพลภาพเป็นคนไข้ติดบ้านติดเตียงปัจจัยเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างไม่มีความสุขจึงควรให้ความสนใจดูแลสุขภาพผู้สูงอายุให้แข็งแรงสมบูรณ์มีคุณภาพชีวิตที่ดีเพื่อป้องกันโรคเรื้อรังหรือภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรังและการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังในผู้สูงอายุเพื่อควบคุมโรคไม่ให้กำเริบรุนแรงทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอย่างมีคุณค่าสมารถทำประโยชน์ให้แก่ครอบครัวและสังคมเป็นเสาหลักของลูกหลานและมีความสุขในบั้นปลายของชีวิตจากข้อมูลดังกล่าว     ชมรมผู้สูงอายุตำบลย่านซื่อ เห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้พฤติกรรมสุขภาพและทัศนคติที่ดีในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุตำบลย่านซื่อ จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพดี วิถีมุสลิม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
  2. เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
  3. เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ
  4. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน
  5. เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. วางแผนการดำ. กิจกรรมประชุมเนินงานร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 1 ครั้ง (สำหรับการประชุมแนนำ)
  2. อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุเกี่ยวกับการการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ แก่ผู้สูงอายุผู้ดูแลผู้สูงอายุ เป็นเงิน
  3. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 90
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เกิดกิจกรรมต่างของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น

ผู้สูงอายุได้รู้จักวิธีการในการดูแลตัวเอง
แกนนำผู้สูงอายุและญาติผู้ดูแลได้รับการพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวการดูแลผู้สูงอายุ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. วางแผนการดำ. กิจกรรมประชุมเนินงานร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 1 ครั้ง (สำหรับการประชุมแนนำ)

วันที่ 23 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมวางแผนการดำเนินงานโครงการ มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ ประชาสัมพันธ์กิจกรรมโครงการ รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิตร
ประชุมวางแผนกิจกรรมต่างๆ
ผลลัพธ์
เกิดประบวนการการดำเนินกิจกรรมต่างของโครงการ

 

20 0

2. อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุเกี่ยวกับการการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ แก่ผู้สูงอายุผู้ดูแลผู้สูงอายุ เป็นเงิน

วันที่ 11 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรม อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุเรื่องการส่งเสริมสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ ในเรื่องการออกกำลังกาย การดูแลสุขภาพช่องปาก การบริโภคอาหาร การป้องกันโรคในผู้สูงอายุและการประเมินสุขภาพจิตผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
จกรรม อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุเรื่องการส่งเสริมสุขภาพแก่ผู้สูงอา
ผลลัพธ์
ผู้สูงอายุ มีความรู้เพิ่มขึ้นในเรื่องการออกกำลังกาย การดูแลสุขภาพช่องปาก การบริโภคอาหาร การป้องกันโรคในผู้สูงอายุและการประเมินสุขภาพจิตผู้สูงอายุ

 

70 0

3. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินโครงการ

วันที่ 7 กรกฎาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมสรุปโครงการผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรม
ผลลัพธ์
ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีขึ้น

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การดำเนินโครงการผผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองร้อยละ 80 ละออกมาร่วมกิจกรรมในชุมชนได่มากกว่าร้อยละ70

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง
12.00 8.00 7.00

 

2 เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : จำนวน สถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ เพิ่มขึ้น
30.00 40.00 50.00

 

3 เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีกลุ่มหรือสังกัดชมรม เพิ่มขึ้น
30.00 50.00 60.00

 

4 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้น
20.00 50.00 70.00

 

5 เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุได้
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุสามารถดูแลตนเองได้เพิ่มขึ้นร้องละ60
50.00 60.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 90 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน (2) เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (3) เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ (4) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน (5) เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพผู้สูงอายุได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วางแผนการดำ. กิจกรรมประชุมเนินงานร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้อง  จำนวน 1 ครั้ง (สำหรับการประชุมแนนำ) (2) อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุเกี่ยวกับการการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ แก่ผู้สูงอายุผู้ดูแลผู้สูงอายุ              เป็นเงิน (3) กิจกรรมสรุปผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพดี วิถีมุสลิม

รหัสโครงการ L8407-64-02-15 รหัสสัญญา 15/2564 ระยะเวลาโครงการ 16 มีนาคม 2564 - 14 กรกฎาคม 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การอบรมเข้าร่วมกิจกรรม

ภาพกิจกรรม

การขยายองค์ความรู้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

ประดิษฐ์อุปกรณ์ใช้เอง

ภาพอุปกรณ์

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

การมีส่วนร่วม คุณค่าของผู้สูงอายุ

กิจกรรมการช่วยเหลือกัน

การจัดตั้งกองทุน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

การประชุมร่วมกันาแนวทาง

ทำให้เกิดนวัตกรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

การเลือกตั้งคณะกรรมการ คณะทำงาน

การต่งตั้งคณะกรรมการ

ประชุมทุกไตรมาส

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

การแลกเปลื่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่

กิจกรรมพบปะ พูดคุย

ขยายแหล่งเรียนรู้ในพื้นที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

ใส่ใจการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น

ภาพการออกกำลังกาย

สมาชิกอายุยืนยาว

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

รู้จักป้องกันโรค

การใส่แมส การออกกำลังกาย

สุขภาพดี

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

รู้จักเลือกซื้ออาหารปลอกสารพิษ

ภาพกิจกรรม ปลุกผักกินเอง

ขยายผลการปลูกผักปลอดสารพิษ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

หันมาออกกำลังกายเพิ่มขึ้น

ภาพการออกกลังกาย

สมาชิกออกำลังกายเพิ่มขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

ลดการสูบบุรี่

ผู้สูงอายุสูบบุรี่ลดลง

บุคคลต้นแบบ ผู้สูงอายุเลิกบุรี่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

เกิดการรวมกลุ่ม สนทนา คลายเครียด

ภาพกิจกรรม

การรวมกลุ่มมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

ปลูกสมุนไพรใช้เอง

เกิดการรวมกลุ่มลูกสมุนไพร

การขยานพื้นที่ปลูก สร้างรายได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ช่วยเหลือตนเอง ลดภาระการดูแลของคนในบ้าน

ภาพกิจกรรม ออกมาร่วมกิจกรรม

บุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

กิจกรรมการัรคัดแยกขยะ

ภาพกิจกรรม

การสร้างรายได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

การใช้ฐานสานสาเ็นศูนย์กลางด้านสุขภาพ

การรวมกลุ่มทำกิจกกรรมช่วยเหลือคนด้อยกว่า

การตั้งกองทุนช่วยเลือ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

การปลูกสมุนไพรเพิ่มรายได้

การรวมกลุ่มปลุกสมุนไพร

สร้างรายได้ ขยายพิ้นที่ปลูก

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

มีกติการของกลุ่ม

ภาพถ่าย การร่วมกิจกรรม

บุลคลต้นบบ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

มีมาตราการทางสังคม

มีมาตราการและการลงโทษ

เพิ่มมาตราการทางสังคม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เกิดการพูดคุยระหว่างกลุ่มตำบล

ภาพถ่ายการเยี่ยมพูดคุย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

การประชุมวิเคราะห์ข้อมูลนามาวางแผนก้อไขปัญา

กิจกรรมประชุม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

การมีส่วนร่วมทุกภาคี

ภาพกิจกรรมการประชุม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

การร่วมกิจกรรมต่อเนื่อง

ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

เกิดบุคคลต้นแบบจากประสบการจริง

ภาพกิจกรรม การพูด บรรยาย

วิทยากรอาสา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

การคืนข้อมูล มาทำแผนงาน

เกิดแผนงาน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

ความภาคภูมิใจ มีคุณค่าของผู้สูงอายุ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

การเยื้ออาทรต่อกัน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

การอยู่อย่างพอเพียง เรียบง่าย

พูดุยซักถาม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

มีการแบ่งปัน

 

จัดตั้งกองทุนช่วยเหลือ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

การประนีประนอม ใช้หลักศาสนาแก้ัปัญา

ถาพกิจกรรมการแก้ไขปัญาความขัดแย้ง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สุขภาพดี วิถีมุสลิม จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L8407-64-02-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาหมาด ดาหมาด นายรอหิม หลงสมัน นายอับดลฆอนี รูบามา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด