กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี


“ โครงการอบรมผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารเพื่อการบริโภคที่ปลอดภัย ตำบลยาบี ประจำปี 2564 ”

ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจัสมิล มุมินรุ่งเรืองเดช

ชื่อโครงการ โครงการอบรมผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารเพื่อการบริโภคที่ปลอดภัย ตำบลยาบี ประจำปี 2564

ที่อยู่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3070-1-6 เลขที่ข้อตกลง 10/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารเพื่อการบริโภคที่ปลอดภัย ตำบลยาบี ประจำปี 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารเพื่อการบริโภคที่ปลอดภัย ตำบลยาบี ประจำปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารเพื่อการบริโภคที่ปลอดภัย ตำบลยาบี ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3070-1-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,920.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน ทำให้วิถีชีวิตของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป พฤติกรรมการบริโภคของประชาชนจากการปรุงอาหารรับประทานเองที่บ้าน เปลี่ยนเป็นการบริโภคอาหารนอกบ้านมากขึ้น ทำให้ประชาชนมีโอกาสเสี่ยงต่อการรับประทานอาหารที่ไม่สะอาด จากผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารที่ขาดความรู้ ความเข้าใจ และไม่ปฏิบัติให้ถูกต้องในระหว่างเตรียม - ปรุง - ประกอบอาหาร หรือขาดการควบคุมดูแลสถานประกอบกิจการให้ได้มาตรฐาน ถูกสุขลักษณะตามกฎหมายและข้อกำหนดของท้องถิ่น ซึ่งจะทำให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อโรคลงสู่อาหารได้ นอกจากนี้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารยังเป็นผู้มีบทบาทเลือกวัตถุดิบที่สะอาด ปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการ มาให้ผู้บริโภคได้รับประทานอีกด้วย ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์ และวิธีการ จัดอบรมผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหาร พ.ศ. 2561 หมวด 1 ข้อ 4 ผู้ประกอบกิจการมีหน้าที่เข้ารับการอบรมและจัดให้ผู้สัมผัสอาหารในสถานที่จำหน่ายอาหารของตนเข้ารับอบรมตามหลักสูตรที่กำหนดในประกาศนี้ ด้วยเหตุนี้ สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลยาบี ในฐานะหนึ่งในหน่วยงานผู้จัดอบรมผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารตามประกาศข้างต้น จึงขอจัดทำโครงการอบรมความรู้ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารตำบลยาบี บูรณาการร่วมกับสาธารณสุขอำเภอหนองจิก” ขึ้น เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหาร ซึ่งเป็นบุคคลสำคัญในการจัดหา ประกอบ ปรุงอาหาร และให้บริการแก่ผู้บริโภคนั้น ผ่านการอบรมหลักสูตร ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหาร ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการอบรมผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหาร และเพื่อให้บุคคลดังกล่าวมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลอาหาร ลดการแพร่กระจายของเชื้อโรคต่าง ๆ ไปสู่ผู้บริโภค พร้อมทั้งผู้สัมผัสอาหารมีสุขวิทยาส่วนบุคคลที่ดี และผู้บริโภคเองก็ได้บริโภคอาหารจากร้านที่ผู้ประกอบการมีความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร ผู้ประกอบกิจการมีการควบคุมดูแล บริหารจัดการ และพัฒนาสถานประกอบกิจการให้ได้มาตรฐาน ถูกสุขลักษณะตามข้อบัญญัติแห่งกฎหมาย ส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลยาบี พื้นที่ใกล้เคียง รวมถึงนักท่องเที่ยวได้รับการบริโภคอาหารและน้ำที่สะอาด ปลอดภัย จากสถานประกอบกิจการที่ได้มาตรฐาน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุงและประกอบอาหาร ได้อย่างถูกต้อง
  2. ๒. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการมีการปรับปรุงและยกระดับสถานประกอบการด้านอาหารให้ได้มาตรฐาน ตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. สำรวจผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารในพื้นที่ตำบลยาบี
  2. 2. จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร แก่เป้าหมาย จำนวน 60 คน (จำนวน 6 ชั่วโมง)
  3. 3.ประชาสัมพันธ์การเข้ารับอบรมหลักสูตรผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหารจากกรมอนามัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุง – ประกอบอาหาร ได้อย่างถูกต้อง
  2. ผู้ประกอบกิจการมีการปรับปรุงและยกระดับสถานประกอบการด้านอาหารให้ได้มาตรฐาน ตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร
  3. ประชาชนทั่วไป (ผู้บริโภค) ได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ปลอดโรค และมีสุขภาพที่ดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. สำรวจผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารในพื้นที่ตำบลยาบี

วันที่ 1 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

สำรวจผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารในพื้นที่ตำบลยาบี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุง – ประกอบอาหาร ได้อย่างถูกต้อง
  2. ผู้ประกอบกิจการมีการปรับปรุงและยกระดับสถานประกอบการด้านอาหารให้ได้มาตรฐาน ตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร
  3. ประชาชนทั่วไป (ผู้บริโภค) ได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ปลอดโรค และมีสุขภาพที่ดี

 

0 0

2. 3.ประชาสัมพันธ์การเข้ารับอบรมหลักสูตรผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหารจากกรมอนามัย

วันที่ 1 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์การเข้ารับอบรมหลักสูตรผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหารจากกรมอนามัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุง – ประกอบอาหาร ได้อย่างถูกต้อง
  2. ผู้ประกอบกิจการมีการปรับปรุงและยกระดับสถานประกอบการด้านอาหารให้ได้มาตรฐาน ตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร
  3. ประชาชนทั่วไป (ผู้บริโภค) ได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ปลอดโรค และมีสุขภาพที่ดี

 

0 0

3. 2. จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร แก่เป้าหมาย จำนวน 60 คน (จำนวน 6 ชั่วโมง)

วันที่ 2 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร แก่เป้าหมาย จำนวน 60 คน  (จำนวน 6 ชั่วโมง)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุง – ประกอบอาหาร ได้อย่างถูกต้อง
  2. ผู้ประกอบกิจการมีการปรับปรุงและยกระดับสถานประกอบการด้านอาหารให้ได้มาตรฐาน ตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร
  3. ประชาชนทั่วไป (ผู้บริโภค) ได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ปลอดโรค และมีสุขภาพที่ดี

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การจัดกิจกรรมโครงการอบรมผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารเพื่อการบริโภคที่ปลอดภัย ตำบลยาบี ประจำปี 2564 โดยมีกิจกรรมสำรวจผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารในพื้นที่ตำบลยาบี, จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร, ประชาสัมพันธ์การเข้ารับอบรมหลักสูตรผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหารจากกรมอนามัย โดยมีกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 60 คน โดยได้รับการสนับสนุนวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี มาบรรยายให้ความรู้ในเรื่อง การอบรมให้ความรู้หลักสุขาภิบาลอาหาร แก่ผู้ประกอบกิจการ ผู้สัมผัสอาหาร

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุงและประกอบอาหาร ได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมการปรุงและประกอบอาหารอย่างถูกต้อง
100.00

 

2 ๒. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการมีการปรับปรุงและยกระดับสถานประกอบการด้านอาหารให้ได้มาตรฐาน ตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร
ตัวชี้วัด : 2. ผู้ประกอบกิจการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับปรุงสถานที่จำหน่ายอาหารของตนเองตามมาตรฐานข้อกำหนดสุขาภิบาลอาหาร
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุงและประกอบอาหาร ได้อย่างถูกต้อง (2) ๒. เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการมีการปรับปรุงและยกระดับสถานประกอบการด้านอาหารให้ได้มาตรฐาน ตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. สำรวจผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารในพื้นที่ตำบลยาบี (2) 2. จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร แก่เป้าหมาย จำนวน 60 คน  (จำนวน 6 ชั่วโมง) (3) 3.ประชาสัมพันธ์การเข้ารับอบรมหลักสูตรผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหารจากกรมอนามัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารเพื่อการบริโภคที่ปลอดภัย ตำบลยาบี ประจำปี 2564

รหัสโครงการ 64-L3070-1-6 รหัสสัญญา 10/2564 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

1.สำรวจผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารในพื้นที่ตำบลยาบี 2.จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร แก่เป้าหมาย ในพื้นที่ตำบลยาบี 3.ประชาสัมพันธ์การเข้ารับอบรมหลักสูตรผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหารจากกรมอนามัย

1.ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุงและประกอบอาหาร ได้อย่างถูกต้อง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

1.มีการจัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารเเก่กลุ่มเป้าหมาย ในพื้นที่ตำบลยาบี ครบตามจำนวนเป้าหมายที่มีการวางไว้

1.ส่งผลให้ผู้ประกอบกิจการเเละผู้สัมผัสอาหารมีการปรับปรุงเเละยกระดับในทางที่ดีขึ้น

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

1.สำรวจผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารในพื้นที่ตำบลยาบี 2.จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหาร แก่เป้าหมาย ในพื้นที่ตำบลยาบี 3.ประชาสัมพันธ์การเข้ารับอบรมหลักสูตรผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหารจากกรมอนามัย

1.ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุงและประกอบอาหาร ได้อย่างถูกต้อง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

1.ก่อนและหลังการจัดเตรียมและประกอบอาหาร ควรรักษาสภาพแวดล้อมให้สะอาด 2.ผ้าเช็ดทำความสะอาด 3.ฆ่าเชื้อโรคสำหรับอุปกรณ์และผ้าเช็ดทำความสะอาด 4.การควบคุมอุณหภูมิของพื้นที่เก็บวัตถุดิบ 5.การเตรียมวัตถุดิบในการปรุงอาหาร 6.น้ำมันที่ใช้ทอดควรเปลี่ยนเป็นประจำ 7.สถานประกอบธุรกิจควรมีการควบคุมแบ่งพื้นที 8.วางแผนขั้นตอนการเตรียมควรหลีกเลี่ยงจากการปนเปื้อน

1.ทำให้ผู้ประกอบการเเละผู้สัมผัสอาหารปรุงอาหารได้ถูกต้องเเละถูกสุขหลักอนามัย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

1.การปรุงอาหารควรนำวัตถุดิบมาทำให้ร้อน อาหารปรุงสุกควรมีศูนย์กลางอุณหภูมิสูงกว่า 60 องศาเซลเซียส 2.อาหารที่ไม่ผ่านการปรุงสุก (ปลาดิบ) ควรเก็บที่ อุณหภูมิห้องเย็นต่ำกว่า 7 องศาเซลเซียส 3.อาหารสุกที่ทำเสร็จแล้วภายในเวลา2ชั่วโมงควรขายให้หมด

1.ประชาชนทั่วไป (ผู้บริโภค) ได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย ปลอดโรค และมีสุขภาพที่ดี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการอบรมผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารเพื่อการบริโภคที่ปลอดภัย ตำบลยาบี ประจำปี 2564 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3070-1-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวจัสมิล มุมินรุ่งเรืองเดช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด