กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนในการป้องกันปัญหาสุขภาพในสถานการณ์โรคระบาดโควิด 19 ในโรงเรียนบ้านโต๊ะตีเต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนในการป้องกันปัญหาสุขภาพในสถานการณ์โรคระบาดโควิด 19 ในโรงเรียนบ้านโต๊ะตีเต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
รหัสโครงการ 64-L3044-2-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านโต๊ะตีเต
วันที่อนุมัติ 23 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 17 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 14,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมาหามะซี หะยีสาและ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาโลย อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 82 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)
82.00
2 ร้อยละของคนในชุมชนที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอในช่วงโควิด-19
35.00
3 จำนวนมาตรการทางสังคม เช่น ข้อตกลง ธรรมนูญ/มาตรการชุมชนเพื่อป้องกัน/แก้ปัญหา/และฟื้นฟูโควิด-19 (เช่น มาตรการของตลาด มาตรการทำกิจกรรมทางศาสนา มาตรการสวมหน้ากากอนามัย มาตรการจัดงานพิธีต่างๆ)
1.00
4 ร้อยละของเวลาในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)
100.00
5 ร้อยละของนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว
50.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยและประเทศทั่วโลกกำลังประสบปัญหา โรคหวัดสายพันธุ์ใหม่ คือโรคโควิด 19 ที่มีผลกระทบในด้านต่างๆ ทำให้การพัฒนาประเทศเป็นไปอย่างล่าช้า
ผู้คนทั่วโลกต่างล้มตายจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ผลกระทบต่อการศึกษา เศษฐกิจสภาพสิ่งแวดและความเป็นอยู่ของประชากร ทำให้การดำรงชีวิตต้องมีการพัฒนา
ปรับปรุงในรูปแบบใหม่เพื่อที่จะป้องกันโรคร้ายและสามารถดำรงกิจวัตรประจำวัน อย่างมีความสุขในสถานการณ์โรคระบาด โควิด 19 เพราะฉะนั้นเราสามารถวางรากฐาน
เรื่องสุขภาพและการปฏิบัติตัวตามแนววิถีใหม่พร้อมกับให้ความรู้และวิธีการต่างๆ การปฏิบัติตัวในรูปแบบที่เหมาะสมกับเด็ก ๆ
ดังนั้นเพื่อให้เด็กได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันและเฝ้าระวัง โรคโควิ19นั้นเป็นเรื่องที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบแล้วปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดี
จะทำให้ปัญหาสุขภาพร่างกายโดยเฉพาะเด็กและครอบครัว รวมถึงชุมชนก็จะมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดีอีกด้วย ทางโรงเรียนบ้านบ้านโต๊ะตีเตจึงได้ตระหนักในเรื่อง โรคโควิด 19
ของเด็กให้มาตื่นตัวและให้ความรู้เรื่องในการปรับตัวในสถานการณ์โรคระบาดโควิด 19 โดยจัดกิจกรรมที่เน้นการมีส่วนร่วม สอดแทรกไปกับความรู้ต่างๆ
ร่วมกันฝึกสุขลักษณะนิสัยในการดำรงชีวิตประจำวันแนววิถีใหม่และเพื่อให้เด็กได้รู้สึกว่าเรื่องโรคโควิด 19 เหล่านี้ไม่ได้ไกลตัวและยากอย่างที่คิด
และเพื่อให้เด็กที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ยังคนในครอบครัวและชุมชนต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว

ร้อยละของนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว

50.00 82.00
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

82.00 90.00
3 เพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูฯย์เด็กเล็ก

ร้อยละของเวลาในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)

100.00 100.00
4 เพื่อให้คนในชุมชนที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอในช่วงโควิด-19 เพิ่มขึ้น

ร้อยละของคนในชุมชนที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอในช่วงโควิด-19

35.00 50.00
5 เพื่อเพิ่มมาตรการทางสังคม เช่น ข้อตกลง ธรรมนูญ/มาตรการชุมชนเพื่อป้องกัน/แก้ปัญหา/และฟื้นฟูโควิด-19 (เช่น มาตรการของตลาด มาตรการทำกิจกรรมทางศาสนา มาตรการสวมหน้ากากอนามัย มาตรการจัดงานพิธีต่างๆ)

จำนวนมาตรการทางสังคมเพื่อป้องกัน/แก้ปัญหา/และฟื้นฟูโควิด-19

1.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 14,300.00 0 0.00
17 พ.ค. 64 - 31 มี.ค. 65 อบรมให้ความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาสุขภาพจากโรคโควิด 19 0 5,700.00 -
1 มิ.ย. 64 - 30 ก.ย. 64 แกนนำนักเรียนตรวจสุขภาพประจำวัน 0 5,100.00 -
1 มิ.ย. 64 - 31 ส.ค. 64 กิจกรรมทางกายตามชมรมต่างๆ 0 3,000.00 -
1 ส.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 สรุปผลการดำเนินโครงการและถอดบทเรียน 0 500.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง
    และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่แก่ครอบครับและชุมชนได้
  2. นักเรียนรู้จักรักษาความสะอาดและสามารถปฏิบัติในสถานการณ์โรคระบาดโควิด 19 ได้
  3. นักเรียนมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์แข็งแรง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 มี.ค. 2564 10:38 น.