กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการประคับประคองระยะสุดท้ายของชีวิตที่บ้าน
รหัสโครงการ 64-L7257-1-13
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองคอหงส์
วันที่อนุมัติ 24 กุมภาพันธ์ 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 29 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 70,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอรวรรณ วัฒนกูล
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2564 30 ก.ย. 2564 70,600.00
รวมงบประมาณ 70,600.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 15 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย เป็นการดูแลแบบองค์รวมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ เป็นการดูแลที่ต้องอาศัยทีมสหสาขาวิชาชีพโดยยึดผู้ป่วยและครอบครัวเป็นศูนย์กลางเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย และความพึงพอใจ ช่วยให้ผู้ป่วยจากไปอย่างสงบ มีเกรียรติสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ครอบครัวสามารถใช้ชีวิตช่วงวิกฤติกับผู้ป่วยได้อย่างราบรื่น จากสถิติการเยี่ยมผู้ป่วยประคับประคองที่บ้านเมื่อปี 2562 ที่ผ่านมา พบผู้ป่วยระยะสุดท้ายทีหน่วยเยี่ยมบ้านโรงพยาบาลหาดใหญ่ส่งต่อมาที่ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองคอหงส์เพื่อการดูแลติดตามอย่างต่อเนื่อง มีจำนวน 15 ราย ยินยอมที่จะเสียชีวิตที่บ้านจำนวน 8 ราย พบว่ามีข้อจำกัดในการดูแลในเรื่องเครื่องผลิตออกซิเจน การใช้ยาเพื่อลดอาการปวดโดยผ่านทางหลอดฉีดยา (Syring Driver) การลงเยี่ยมนอกเวลาของทีมสหสาขาจากโรงพยาบาลหาดใหญ่ เพื่อเพิ่มความมั่นใจความพึงพอใจให้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว เป็นการเพิ่มทักษะแก่พยาบาลวิชาชีพ และจิตอาสาของเทศบาลเมืองคอหงส์ที่รับผิดชอบในแต่ละชุมชนได้มีความรู้ ทักษะ ความมั่นใจในการบริการแบบประคับประคอง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายของชีวิต

การจากไปอย่างสงบมีเกียรติสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

0.00
2 เพื่อลดความทุกข์ทรมานจากความเจ็บปวด

การพยาบาลดูแลอย่างใกล้ชิดโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ

0.00
3 เพื่อความใกล้ชิดครอบครัวในระยะสุดท้ายของชีวิต

ความพึงพอใจ

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 70,600.00 0 0.00
1 เม.ย. 64 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ต้องให้การพยาบาลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 0 48,000.00 -
1 เม.ย. 64 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมลงเยี่ยมผู้ป่วยและครอบครัว 0 21,600.00 -
1 เม.ย. 64 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมสรุปรายงานโครงการ 0 1,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. การทำงานเป็นทีมสหสาขาวิชาชีพ ของเครือข่ายโรงพยาบาลหาดใหญ่และศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองคอหงส์
  2. มีระบบการดูแลระยะสุดท้ายชัดเจน มีความภาคภูมิใจร่วมกัน
  3. ผู้ป่วยและญาติได้รับการดูแล มีความพร้อม และความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน เพิ่มคุณภาพชีวิตแก่ผู้ป่วยระยะสุดท้าย
  4. พยาบาลวิชาชีพ มีทักษะการพยาบาล การให้คำปรึกษา การติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภายในและภายนอก
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 มี.ค. 2564 19:41 น.