กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุสุขใจสูงวัยอย่างมีคุณค่า ประจำปี 2564
รหัสโครงการ 64-l5256-03-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมผู้สูงอายุเมาะลาแต
วันที่อนุมัติ 9 กุมภาพันธ์ 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 12,747.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมะดาโหะ ใสหมัน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทุ่งพอ อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 9 ก.พ. 2564 30 ก.ย. 2564 12,747.00
รวมงบประมาณ 12,747.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
60.00
2 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
70.00
3 จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน)
80.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล ปัจจุบัน ประเทศไทยถือเป็นสังคมผู้สูงอายุ ตามคำนิยามขององค์การสหประชาชาติเป็นที่เรียบร้อย นั้นคือ ประเทศไทยมีสัดส่วนผู้สูงอายุเกินร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ โดยในปี พ.ศ.2558 ประเทศไทยมีประชากรที่ีมีอายุสูงกว่า 60 ปีสูงถึงร้อยละ 15.6 ของประชากรทั้งประเทศ หรือ 10.42 ล้านคนและจะก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ เมื่อมีสัดส่วนผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 20 ในปี พ.ศ. 2563 ทั้งนี้ประเทศจะก้าวเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอด ในปีพ.ศ. 2578 ซึ่งประชากรที่สูงอายุจะมีสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 30 ของประชากรทั้งหมดนอกจากนี้ จากการประเมินคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ในจังหวัดสงขลามีจำนวนผู้สูงอายุ ทั้งหมด 159,060 คนคิดเป็น 11% ของประชากรทั้งหมด แบ่งเป็นชาย 71,082 คน หญิง 87,978 คน สำหรับตำบลทุ่งพอ อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ข้อมูลจากการคัดกรองผู้สูงอายุมีจำนวนผู้สูงอายุมีจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด 303 คน และพบว่ามีปัญหาด้านสุขภาพ ได้แก่ ปัญหาการเจ็บป่วยเป็นโรคเรื้อรัง เช่นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง และอีกหลายโรค ซึ่งส่งผลต่อการำเเนินชีวิต ซึ่งรัฐบาลได้มีนโยบายและกำหนดแนวทางในการดูแลผู้สูงอายุตลอดมา แต่ยังไม่สามารถแก้ปัญหาได้ทั้งหมด ทั้งนี้แม้แต่การเข้าถึงบริการที่ไม่ทั่วถึง เนื่องจายังเป็นการดูแลและบริการที่แยกส่วนระหว่างชุมชน ท้องถิ่นและองค์กรต่างๆ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเมาะลาแต ตำบลทุ่งพอ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ ผู้สูงอายุสุขใจสูงวัยอย่างมีคุณค่า ปี 2564 ขึ้น เพื่่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ของตำบลทุ่งพอรู้จักการดูแลรักษาสุขภาพให้สมบูนณ์แข็งแรงทั้งด้านร่างการและจิตใจ ก่อให้เกิดความรักความสามัคคีในหมู่คณะต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมกับช่วงวัย

ผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ที่พึงประสงค์ ร้อยละ70

80.00 70.00
2 ผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมร่วมกันสร้างความสามัคคีในชุมชน

ผู้สูงอายุมีการดำเนินชีวิต และความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ลดอาการโรคซึมเศร้าได้

60.00 40.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 12,747.00 0 0.00
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 โครงการผู้สูงอายุสุขใจสูงวัยอย่างมีคุณค่า 0 12,747.00 -

กิจกรรมที่ 1 คัดกรองและตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ กิจกรรมที่ 2 จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุ หมู่ 6 ตำบลทุ่งพอ กิจกรรมที่ 3 ผู้สูงอายุจัดกิจกรรมในระดับหมู่บ้าน - กิจกรรมออกกำลังกาย
- กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต -กิจกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น -กิจกรรมการให้ความรู้การดูแลตนเอง กิจกรรมที่ 5 จัดเวทีประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสารรถภาพร่างกายและจิตใจ และสามารถดูแลตนเองได้ เกิดกระแสความตื่นตัว มีส่วนร่วมในชุมชน ดำรงชีวิตอย่างมีคุนค่า และมีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและมีสุขภาพที่ดี

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 8 มี.ค. 2564 00:00 น.