กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดแก่ประชาชนที่มีความเสี่ยง
รหัสโครงการ 64-L1513-01-001
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลควนเมา
วันที่อนุมัติ 3 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2564 - 30 เมษายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 29 พฤษภาคม 2564
งบประมาณ 17,060.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางเอมอร แสนดี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานแรงงานนอกระบบ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 300 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้รับการตรวจคัดกรอง และให้คำแนะนำเพื่อส่งต่อรักษา

ร้อยละ 100 ของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้รับการตรวจคัดกรอง และให้คำแนะนำเพื่อส่งต่อรักษา

100.00
2 เพื่อให้มีการจัดบริการดูแลสุขภาพเชิงรุกแก่ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยง

ร้อยละ 100 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการรักษาด้วยยาสมุนไพร

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 600 17,060.00 0 0.00
27 เม.ย. 64 จัดเก็บข้อมูลเพื่อประเมินความเสี่ยงการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช 300 1,200.00 -
28 เม.ย. 64 เจาะเลือดตรวจคัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยง จากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช 300 14,360.00 -
29 เม.ย. 64 จ่ายยาสมุนไพรรางจืดแก่ผู้เข้ารับการตรวจที่มีผลอยู่ในกลุ่มเสี่ยง 0 1,500.00 -
  1. ขั้นเตรียมการ     1.1 ประชุมคณะทำงานเพื่อกำหนดแนวทางในการดำเนินงาน     1.2 จัดทำและเสนออนุมัติโครงการ     1.3 ประสานกับหน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง
  2. ขั้นดำเนินการ     2.1 จัดเก็บข้อมูลเพื่อประเมินความเสี่ยงการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช จำนวน 300 คน     2.2 เจาะเลือดตรวจคัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช จำนวน 300 คน     2.3 บันทึกสุขภาพเกษตรกรที่มีความเสี่ยงจากการเจาะเลือด รักษาโดยใช้ยาสมุนไพรและนัดติดตามผลอย่าง
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ทำให้ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้รับการคัดกรองและให้คำแนะนำเพื่อส่งต่อรักษา
  2. ทำให้มีการจัดบริการดูแลสุขภาพเชิงรุกแก่ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 มี.ค. 2564 11:03 น.